Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Hypovolemic shock, อ้างอิง, พงศ์เทพ ธีระวิทย์. ภาวะช็อค (Shock).…
Hypovolemic shock
-
ข้อมูลเคส
-
-
อาการและอาการแสดง
CRT= 3 sec, ปลายมือปลายเท้าเย็น
หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม, ใจสั่น
-
-
-
การรักษาที่ได้รับ
-
-
-
-
-
วัด BP ,V/S,N/S ทุก 1 =ชั่วโมง
PRC gr.B 2 unit, Hct 4 hrs.หลังหมด
-
-
-
-
-
เปรียบเทียบทฤษฏีโรค
-
การวินิจฉัยโรค
-
-
การรักษา
-
การพยาบาลอื่นๆ
Airway, Breathing, Circulation
-
-
พยาธิสรีวิยา
เกิดจากการสูญเสียเลือดในระบบไหลเวียน พลาสมา และส่วนของน้ำที่อยู่นอกเซลล์ทำให้มีการสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายไม่เพียงพอมีผลให้ Cardiac output
ระยะแรก (Immediately reaction) Cardiac output ลดลง ระบบ sympathetic กระตุ้นการทำงานให้ baroreceptor reflex หลั่ง epinephrine,norepinephrine ให้หัวใจบีบตัวแรงขึ้น,เต้นเร็วขึ้น หลอดเลือดหดบริเวณกล้ามเนื้อไต ช่องท้องจะหดเพื่อลดจำนวนเลือดไปเลี้ยง การไหลเวียนเลือดและตัวนำออกซิเจนลดลง และเกิดการเผาพลาญแบบไม่ใช้ออกซิเจน ผลของการขาดออกซิเจนจะกระตุ้น chemoreceptor reflex ทำให้หายใจเพื่มขึ้น
ระยะการปรับตัว Compensatory mechanism เมื่อร่างกายเสียเลือด ร่างกายปรับตัวโดยระบบ renin-angiotensin-aldosterone system ลดเลือดไปเลี้ยงที่ไต คงไว้ซึ่งปริมาณเลือด hypothalamus หลั่ง ADH ต่อมหมวกไตหลั่ง aldoosterone ไตดูดน้ำ,โซเดียมกลับ และ ADHกระตุ้นการกระหายน้ำ ปัสสาวะออกน้อยลง หลอดเลือดดำหดตัวปล่อยเลือดออกจากตับ
ระยะที่ไม่สามารถปรับตัว Irreversible shock ร่างกายไม่สามารถปรับชดเชยได้ และยังมีการสูญเสียเลือดออก ทำให้ Caediac output ลดลง ความดันโลหิตลดลง เซลล์ขาดออกซิเจน เซลล์ตายและปล่อยสารภายในเซลล์ออกนอกเซลล์มากขึ้น ร่างกายกลับสู่สภาพปกติยากขึ้น
สาเหตุ
ภายใน
กระดูกหักภายใน,อวัยวะภายในฉีกขาด
ภายนอก
-
อาเจียนเป็นเลือดสด
ผู้ป่วยอาเจียนเป็นเลือดสด, ถ่ายดำ
-
-
ข้อมูลยา/สารน้ำ
Lasix 20 mg ก่อนให้เลือด
-
เหตุผลที่ได้รับยาเนื่องจากผู้ป่วยเลือดออกให้ยาเพื่อทำให้หลอดเลือดดำขยายตัว ซึ่งจะทำให้แรงดันเลือดเข้าสู่หัวใจลดลง ปริมาณเลือดกลับสู่หัวใจน้อยลง หัวใจทำงานดีขึ้น
กลไกการออกฤทธิ์ยับยั้งการดูดซึมกลับของโซเดียมคลอไรด์ทำให้น้ำโซเดียมคลอไรด์ ถูกขับออกมาในปัสสาวะเพิ่มขึ้น ผลทางเภสัชวิทยา ยาเพิ่มเลือดมายังไต และทำให้เลือดในส่วนของชั้น medulla ไหลไปยังส่วนของ Cortex ซึ่งเป็นส่วนของไตที่มีหน้าที่ในการกรองการดูดซึมกลับ และการขับออกของสารเป็นจำนวนมากยาทำให้หลอดเลือดดำขยายตัว ซึ่งจะทำให้แรงดันเลือดเข้าสู่หัวใจลดลง ปริมาณเลือดกลับสู่หัวใจน้อยลง หัวใจทำงานดีขึ้น
-
-
-
-
-
สถานการณ์ ผู้ป่วยชายอายุ 48 ปี อ่อนเพลีย ปวดดท้อง คลื่นไส้ อาเจียนเป็นเลือดสด
1 กระโถน ประมาณ 1000 ml.หน้ามืดคล้ายจะเป็นลม ใจสั่น สับสนบางครั้ง CRT= 3 sec V/S : P=108 bpm,RR= 26 bpm,BP= 82/58 mmHg,O2 sat = 92% RA
-
-
สมชาย กาญจนสุต. (2560). ภาวะช็อกจากการขาดน้ำ หรือเสียเลือด (HYPOVOLEMIC SHOCK) (พิมพ์ครั้งที่ 1). นนทบุรี :สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ.
ปราณี ทู้ไพเราะ. (2559). คู่มือยา Handbook of drugs (พิมพ์ครั้งที่ 14). กรุงเทพฯ: N P Press Limited Partnership.
-