Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงิน การคลังสุขภาพ(Health Care Financing) - Coggle Diagram
การเงิน การคลังสุขภาพ(Health Care Financing)
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ
1.ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
How to get enough revenue for health service delivery
ประเทศปานกลาง
Middle income country
จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ารวย
High income country
จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
ประเทศยากจน
Low income country
จะหาเงินมาจากไหนให้พอในการจัดบริการ
จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด Setting up the system for managing the health care
resources
การเลือกซื้อบริการ
Purchase
จะเลือกซื้อบริการอะไร
Which services?
การจ่ายค่าบริการ
Reimbursement
เพื่อให้ผู้ให้บริการมีแรงจูงใจในการให้บริการ
มีประสิทธิภาพในการบริการสูง
-จ่ายค่าบริการอย่างไรอัตราเท่าใด
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
Access and Coverage of health care services
จ่ายเงินอย่างไรให้ประชาชนได้รับบริการเท่าเทียมกัน
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการสุขภาพ
แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่นๆ
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน
(Out ofpocket)
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ (ประกันชีวิต)
แหล่งเงินจากภาครัฐ
งบประมาณภาครัฐ
สวัสดิการข้าราชการ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้อดีและข้อเสีย
แหล่งการคลังอื่นๆ
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
ขาดเสถียรภาพง่าย ขึ้นอยู่กับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ (การถูกเลิกจ้าง)
หาบริการอื่นทดแทนได้
แหล่งเงินจากภาครัฐ
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี (Taxation)
ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมือง
สภาพปัญหา
การจัดการบริหารด้านการเงินการคลัง
เกิดความซ้้าซ้อนในการบริหารจัดการ
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary
insurance
ผู้ให้บริการ
•การให้บริการเกินความจาเป็น(Over serviceservice)
•จริยธรรมการให้บริการ(Provider moral hazard hazard)
•การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น(Under service)
ผู้เอาประกัน
• กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก
•จริยธรรมการใช้บริการ(User moral hazard hazard) โดยการบริการมากเกินจาเป็น
ความไม่สมมาตรของข้อมูล (Asymmetric Information)
1) ปัญหาmoral hazard hazardอธิบายง่ายๆ คือ หลังจากผู้เอาประกันทาสัญญาประกันแล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เพราะเกิดความรู้สึกว่า“ฉันจะทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันก็มาจ่าย”และ“ฉันต้องใช้ประกันให้คุ้ม เพราะจ่ายเงินค่าเบี้ยประกันไปตั้งเยอะแล้ว”
2)ปัญหาadverse selection selectionกลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงสูง อีกกลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงต่ำ และผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าตนอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงสูงหรือกลุ่มความเสี่ยงต่า แต่บริษัทประกันไม่ทราบ เพราะไม่สามารถประเมินความแตกต่างจากการดูภายนอกอย่างผิวเผินได้ บริษัทประกันจึงไม่สามารถแยกแยะว่าผู้เอาประกันเหล่านั้นมีความเสี่ยงสูงหรือต่ำที่จะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
รูปแบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
oสวัสดิการสังคม (public welfare) :Welfare
oสวัสดิการข้าราชการ :Fringe benefit
oประกันผู้ประสบจากรถ :Compulsory insurance
oประกันสุขภาพเอกชน :Voluntary insurance
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ
อัตราการคืนทุนต่าในบัตรสุขภาพ (low cost)
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน)
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก
แรงจูงใจสำคัญสำหรับผู้ให้บริการ
รายกิจกรรม
เพิ่มจำนวนผู้มารับบริการเพิ่มปริมาณที่ให้บริการ เลือกให้บริการราคาแพง
เหมาจ่ายรายหัว
เพื่อจำนวนผู้มาขึ้นทะเบียน แต่ลดการมารับบริการของแต่ละคน และลดปริมาณที่ให้บริการลง
ตามรายป่วย
เพิ่มจำนวนผู้รับบริการ แต่ลดปริมาณที่ให้บริการและเลิกให้บริการที่ราคาถูกลง
งบยอดรวม
ลดจำนวนผู้ป่วยลดจำนวนบริการลง
เงินเดือน
ลดจำนวนผู้ป่วยลดจำนวนบริการลง
ราคารายวัน
เพิ่มจำนวนวันนอนของผู้ป่วย
อัตราคงที่
ให้บริการเฉพาะส่วนที่จะมีเงินเพิ่มพิเศษละเลยบริการอื่นๆ