Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
สาเหตุ
หัวใจทํางานหนักมากขึ้นเนื่องจากเลือดในหัวใจเพิ่มขึ้นมากจากการรั่วไหล
กลุ่มเลือดไหลลัดจากหัวใจทางขวา
กลุ่มรั่วของลิ้นหัวใจ
กลุ่มเลือดไปเลี้ยงที่ปอดมาก
หัวใจทํางานหนักมากขึ้นเนื่องจากมีความดันในVentricleสูงกว่าปกติจากการอุดกั้นทางออกของVentricle
หัวใจทํางานหนักมากขึ้นเนื่องจากมีความดันในVentricleสูงกว่าปกติจากการอุดกั้นทางออกของVentricle
อาการ
ขวาวาย
บวม(ตาแขนหน้า),ตับม้ามโต,หลอดเลือดดําที่คอโป่งพอง อึดอัดแน่นท้อง
ซ้ายวาย
น้ำคั่งปอด,เลือดคั่งปอด,หน้าอกบุ๋ม,หายใจลําบากฟังเสียงได้ยิน crepitation
การรักษา
Ianoxin
เพิ่มแรงบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ ทําให้เต้นช้า อัตราการเต้นลดทําให้ Cardiac output เพิ่มทําให้ลดการคั่งในหลอดเลือดฝอย
ทําให้มีการขับปัสสาวะมากขึ่น ลดแรงต้านหลอดเลือดทําให้หัวใจไปเลี้ยงส่วนต่างๆได้มากขึ้น
การพยาบาล
1.เลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายลดลง ผลมาจากหัวใจผิดปกติ
ใหได้รับยาดิจิตาลิสตามแผน
นอนศีรษะสูง
ให้ได้รับออกซิเจนเพียพอ
ทานอาหารจืดเลี่ยงเค็ม
สังเกตและบันทึกV/S ทุก4 hr.
บันทึกการดื่มน้ำและปัสสาวะรอบ 24 hr.
2.ภาวะน้ำเกิน เนื่องจากมีการคั่ง หรือ สะสมของน้ำในร่างกายเพิ่มเติม ทําให้หัวใจทํางานหนัก
ให้ได้รับยาขับปัสสาวะ
ได้รับสารอาหารที่มีแคลอรี่พียงพอ
บันทึกการดื่มน้ำและปัสสาวะรอบ 24 hr.
ชั่งน้ำหนักทุกวันเพื่อทราบการเปลี่ยนแปลง
ประเมินอาการบวม
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากอัตราการเผาผลาญสูง จากการ
ที่หัวใจทํางานลดลง และอัตราการเต้นหัวใจเพิ่ม อัตราการหายใจเพิ่ม
ให้ได้รับสารอาหารที่แคลอรี่ 100-120 cal/kg/day
แนะนําพ่อแม่ให้ทราบถึงเทคนิคการให้นมหรืออาหาร
ชั่งน้ำหนักเด็กทุกวันเพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
สังเกตและบันทึกปริมาณนมหรอื อาหารที่ผู้ป่วยได้รับ
4.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า
ดูและประเมินพัฒนาการของเด็ก
ให้เด็กเล่นในเวลาสั้นๆ
จัดหาของเล่นต่างๆ
ให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น
มีโอกาสเกิดการติเชื้อทางเดินหายใจเนื่องจากมีการคั่งเลือดที่ปอด
การแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง ทําให้การทํางานของปอดลดลง
ดูแลสิ่งแวดล้อมให้สะอาดและปลอดโปร่ง
ดูแลพักผ่อนให้เพียงพอ
ให้ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์
ดูแลไม่ให้ผู้ป่วยไปใกล้ชิดกับผู้ที่มีการติดเชื้อ
สังเกตและบันทึกV/S ทุก 4 hr.
ถ้าติดเชื้อต้องดูแลให้ได้รับ Antibioticตามแผนการรักษา
ดูแลช่องปากและฟันให้สะอาด
6.มีโอกาสเกิดภาวะเป็นพิษจากดิจิตาลิส
ดูแลให้ได้รับยาดิจิตาลิส จะต้องจับ PR ให้ครบ 1 นาที
สังเกตและบันทึกPR และฟังเสียงหัวใจสม่ำเสมอ
สังเกตอาการผิดปกติของภาวะเป็นพิษ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน หัวใจเต้นช้า เต้นไม่สม่ำเสมอ
สังเกตอาการโพแทสเซียมต่ำ เช่น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ความดันต่ำ หัวใจเต้นเร็ว/ชา
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด(congenital heart disease)
ชนิดไม่เขียว
1.กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีก
ซ้ายไปซีกขวา (left to right shunt)
-Ventricular septal defect (VSD)
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่าง เวนตริเคิล
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม
เหงื่อออกมาก
ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต
พัฒนาการอาจจะปกติหรือล่าช้า
ติดเชื้อในระบบหายใจบ่อยๆ
-Atrial septal defect (ASD)
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่างเอเตรียม
อาการและอาการแสดง
มักไม่มีอาการแสดงที่ผิดปกติ
บางรายติดเชื้อในระบบหายใจ
เจริญเติบโตช้า
อ่อนเพลีย เหนื่อยง่ายเวลาออกแรงหรือออกกำลังกาย
-Patent ductus arteriosus (PDA)
มีเลือดไปปอดมาก
หลอดเลือด ductus arteriosus ยังปิดอยู่ ภายหลังเด็กเกิด ทำให้เกิดการติดกันระหว่าง Aorta และ Pulmonary artery
สาเหตุ
เกิดก่อนกำหนด ทำให้ ductus arteriosus มีการหตัวตอบสนองต่อความเข้มข้นของออกซิเจนไม่ดี
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การติดเชื้อ เช่น ติดเชื้อหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
อาการและอาการแสดง
PAD ขนาดใหญ่มักมาด้วยอาการหัวใจซีกซ้ายวาย
อาการ
หายจเร็ว
เหงื่อออกมากเวลาดูดนม
เหนื่อยหอบ
น้ำหนักขึ้นช้า
2.กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
(obstructive lesions)
-Aortic stenosis (AS
มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค หรือมีการอุ้นกั้นทางออกของเวนตริเคิลซ้าย
อาการและอาการแสดง
พวกที่ลิ้นตีบมากจะมีอาการอ่อนเพลียง่ายเวลาเล่น
เจ็บหน้าอก
-Pulmonary stenosis (PS)
มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย
จ็บแน่นหน้าอก
เป็นมากขึ้นเวลาออกกำลังกาย
บางรายเป็นลมหมดสติ
-Coarctation of aorta (CoA)
มีการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณ ductus arteriosus มาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
อาการและอาการแสดง
หายใจแรงและเร็ว
เหนื่อยหอบ
เหงื่อออกมาก
ดูดนมช้า
เลี้ยงไม่โต
ตรวจพบชีพจรที่ขาทั้ง 2 ข้างเบากว่า
การพยาบาล
1.เนื้อเยื่อของร่างกายอาจได้รับออกซิเจนไม่พอเนื่องจากประสิทธิภาพการทำงานหัวใจลดลง
จำกัดกิจกกรมและให้พักผ่อนให้เพียงพอ
จัดท่านอนศีรษะสูง
ให้ได้รับออกซิเจนที่เพียงพอ
เลี่ยงอาหารรสเค็ม ทานอาหารอ่อน
ให้ได้รัยาดิติลิสตามแผนการรักษา
วัด V/S ทุก 4 hr.
ดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
2.อาจมีอาการหมดสติเนื่องจากได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอจากการที่เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยเสมอ
แนะนำให้ผู้ป่วยเล่นกิจกรรมที่ต้องออกแรงเพื่อให้เลือดมีการสูบฉีด
ถ้าผู้ป่วยเป็นลมให้นอนหงายยกเท้าสูง ปลดเสื้อผ้าเพื่อให้ปอดขยาย สังเกตและบันทึก PR และ BP
4.มีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจเนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจ
และหลอดเลือดที่ทำให้เกิดการลัดของเลือด
ดูแลช่องปากและฟันให้สะอาด
ดูแลให้ได้รับ Antibiotic ก่อนทำหัตถการที่ฟัน
สังเกตและประเมินของภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบ
5.เสี่ยงต่อการเจริญเติบโตไม่สมวัยหรือต่ำกว่าเกณฑ์ เนื่องจากดูดนมหรือทานอาการได้น้อย
ให้ผู้ป่วยได้พักก่อนทานเพื่อให้ได้มีการสะสมพลังที่จะให้การดูดนมหรือเคี้ยวอาหาร
ให้เด็กได้ทานอาหารที่ครบ 5 หมู่ และมีแคลอรี่สูง
ดูแลให้นมตามปกติ โดยให้น้อยๆแต่บ่อย
ทานอาหารให้ครบ 3 มื้อ
ชั่งน้ำหนักเพื่อประเมินดูภาวะโภชนาการ
รายที่เบื่ออาหาร ดูดนมไม่ได้บ่อยครั้ง ให้รีบรายงานแพทย์
6.มีโอกาพัฒนาการล่าช้าเนื่องจากมีอาการอ่อนเพลีย การเคลื่อนไหวน้อยหรือบางรายมีอาการหายใจลำบาก
ประเมินดูพัฒนาการของเด็ก
มีการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมกาพัฒนาการของเด็ก
ให้ข้อมูลกับพ่อแม่เกี่ยวกับพัฒนาการของเด็ก
7.พ่อแม่กังวลเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่กำเนิดบุตร
ให้ข้อมูลลกับพ่อแม่เกี่ยวกับสุขภาพ
อธิบายให้เข้าใจเกี่ยวกับความผิดปกติที่เกิดขึ้น
สนับสนุนให้พ่อแม่กอดลูกเท่าที่จะทำได้ เพราะทำให้สัมพันธภาพดีขึ้น
ชนิดเขียว
1.กลุ่มที่มีเลือดไปปอดน้อย อาจมี
ภาวะขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
Tetralogy of Fallot (TOF)
มีความผิดปกติ 4 อย่าง
การตีบของลิ้นพัลโมนารี
(pulmonic stenosis)
ผนังระหว่างเวยตริเคิมีรูรั่ว (VSD)
ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเคลื่อนไปทางด้านขวา (overridingaorta หรือ dextroposition ofthe aorta)
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา(right ventricularhypertrophy)
อาการและอาการแสดง
เขียวทั่วร่างกาย
หัวใจวาย
Pulmonic atresia (PA) ลิ้นพลั โมนารี
Tricuspid atresia(TA) ลิ้นไตรคัสปิดตัน
2.กลุ่มที่มีเลือดไปปอดมาก อาการ
เขียว และมีภาวะหัวใจวาย
Transposition of great arteries
พบบ่อยสุด
มีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดง
ใหญ่ที่ออกจากหัวใจ
อาการและอาการแสดง
เขียวมากต้งแต่แรกเกิด ภายใน
2-3 วันแรกหลังเกิด
หัวใจวาย
รายที่มี VSD ร่วมด้วย มีอาการ
เหนื่อย หัวใจวาย
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง (acquired heart disease)
การติดเชื้อที่ยื่อบุหัวใจ (Infective endocarditis)
มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (Streptococcus viridans, Staphylococcus aureus)
อาการ
เพลีย
เหนื่อยง่าย
เสียงหัวใจเป็น Murmur
ม้ามโตกดไม่เจ็บ
การรักษา
เจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือด
ให้ยาปฎิชีวนะ
ตรวจสอบแหล่งการติดเชื้อ
การพยาบาล
1.มีการติดเชื้อที่เยื่อบุทางเดินหายใจ
ดูแลให้ยา Antibiotic ทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้พักผ่อนเพียงพอเพื่อลดการทำงานของหัวใจ
ทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ อาหารอ่อนย่อยง่าย
สังเกตอาการข้างเคียงจากยา
2.อาจเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำได้
ดูแลความสะอาดและพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำให้พ่อแม่หรือผู้ป่วยดูแลช่องปาก
ทานยา Antibiotic เพื่อป้องกันก่อนทำหัตถการ
สังเกตอาการติดเชื้อ
โรคหัวใจรูห์มาติค Rheumatic Heart Disease (RHD)
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติคซึ่งมีการติดเชื้อ
อาจทำให้เกิดการอักเสบของหัวใจ ส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจวาย ตลอดถึงรั่วหรือตีบได้
Rheumatic Fever ไข้รูห์มาติค
อักเสบที่เนื้อเยื่อเกี่ยวพันมักเกิดตามหลังคออักเสบด้วยเชื้อ
ภาวะหัวใจวายและลิ้นหัวใจถูกทำลาย
อาการ
Major criteria
หัวใจอักเสบ
ปวดตามข้อ
ผื่นแดง
Minor criteria
ไข้ต่ำ
ปวดตามข้อ
เคยเป็นรูห์มาติค
การรักษา
ให้ยา Antibiotic กำจัดเชื้อ
ยาต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ
นอนพัก อาการหัวใจวายให้พักจนกว่าจะควบคุมได้แล้วค่อยๆเพิ่มการเคลื่อนไหว
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ β-hemolytic Streptococcus group A ซ้ำและการติดเชื้อเยื่อบุหัวใจจากโรคหัวใจรูห์มาติคมาก่อน
เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายขาดออกซเจน เนื่องจากมีภาวะหัวใจวายเพราะมีการอักเสบของหัวใจและลิ้นหัวใจ
มีความเครียดต่อการถูกจำกัดให้พักอยู่บนเตียงและแยู่โรงพยาบาลนาน
พ่อแม่กังวลต่อการเจ็บป่วยของลูกและดูแลเมื่อลูกกลับบเาน
Kawasaki Disease(คาวาซากิ)
มีการอักเสบของผนังหลอดเลือด Coronary และหลอดเลือดแดงขนาดกลางและมี Platelet thrombi
อาการ
ไข้ ส่วนใหญ่ไข้สูงพักๆ ไข้ลดมักจะไม่ลดปกติ
ตาแดง มักเห็นภายใน 2-4 วันแรก
ริมฝีปากแดงและแห้ง เห็นช้ดๆตั้งแต่วันแรกของโรค
ปากแดง
เท้าผื่น
ต่อมน้ำเหลืองที่ไต
การพยาบาล
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ
ดูแลความสะอาดของช่องปาก
ดูการทำงานของหัวใจ และปอดและหลอดเลือด สังเกตการเต้นของหัวใจ
ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา
ดูผลข้างเคียงยา
บันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ24 ชม. ระวังการขาดน้ำ
ดูแลความอยากอาหาร จัดอาหารให้น่าทาน ลดเค็ม
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูการบวมของหัวใจ
ระวังการติดเชื้อ รักษาความสะอาด
ลดความไม่สะดวกสบาย
ลดความกังวลและความกลัวเพราะอาจส่งผลต่อหัวใจได้