Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
การวิเคราะห์และการนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเตรียมและการใช้โปรแกรมสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเพื่อการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
การตรวจสอบข้อมูลการวิจัย
1.การบรรณาธิกรณ์ เป็นการตรวจสอบและปรับปรุงเเก้ไขข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ ให้มีความถูกต้องหรือใกล้เคียงกับสิ่งที่ควรจะเป็นมากขึ้น
2.การแยกประเภทข้อมูล เป็นการจำเเนกข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาได้ออกเป็นกลุ่มตามลักษณะตัวแปรที่ผู็วิจัยกำหนด โดยเเต่ลพกลุ่มต้องสามารถแยกออกจากกันได้โดยเด็ดขาด
การจัดทำรหัสข้อมูลการวิจัย
ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจะต้องนำมาลงรหัส ซึ่งการลงรหัสเป็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลเชิงคุณภาพที่ไม่ใช่ตัวเลข ที่อยู่ในเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคสนาม
หลักการกำหนดรหัสข้อมูล
1.1 ลำดับของข้อคำถาม
1.2 ชื่อของตัวแปรที่เป็นข้อคำถาม
1.3 รหัสของคำตอบของแต่ละข้อคำถาม
1) การกำหนดรหัสสามารถใช้ได้ทั้งตัวอักษรและตัวเลข
2) ปกติถ้าใช้รหัสเป็นตัวเลข เลขศูนย์ (0) ใช้กับค่าคำตอบที่เป็นศูนย์จริงหรือคำตอบปฏิเสธ
3) ควรเตรียมรหัสสำรองไว้สำหรับข้อถามปลายเปิด
4) ข้อถามที่ตอบได้มากกว่า 1 คำตอบ
วิธีการกำหนดรหัสข้อมูล
2.2 หลักเกณฑ์การตั้งชื่อตัวแปร
1) ความยาวของชื่อไม่ควรเกิน 8 สดมภ์
2) ตัวแรกต้องเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ
3) อักษรที่เป็นภาษาอังกฤษจะใช้เป็นตัวเล็กหรือตัวใหญ่ก็ได้
4) ภายในชื่ออาจมี จุด, $,
,
และหรือเลข 0-9 ก็ได้ แต่ห้ามลงท้ายด้วยจุด
5) ช่องว่างหรือสัญลักษณ์พิเศษ เช่น &,!,?,/ และ ‘ จะอยู่ในชื่อตัวแปรไม่ได้
6) ชื่อต้องไม่ซ้ำกับคำเฉพาะที่ใช้ในโปรแกรม SPSS เช่น title, data regression
7) คำต่อไปนี้เป็นคำที่กำหนดเพื่อใช้ในโปรแกรม SPSS เฉพาะ เพื่อแทนคำหรือเครื่องหมายต่าง ๆ จึงไม่สามารถนำมาใช้ในการเขียนชื่อตัวแปรได้ได้แก่ ALL NE AND NOT BY OR EQ THRU GE TO GT WITH LE LT
2.3 การกำหนดรหัสสำหรับคำตอบ
2.3.1 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบนามมาตร รหัสข้อมูลที่เป็นตัวเลขไม่มีค่า กำหนดเพื่อเป็นสัญญลักษณ์เท่านั้น
2.3.2 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบอันดับมาตร รหัสข้อมูลที่เป็นตัวเลขไม่มีค่า กำหนดเพื่อเป็นสัญญลักษณ์เหมือนกับข้อมูลแบบนามมาตร
2.3.3 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบช่วงมาตร รหัสข้อมูลที่เป็นตัวเลขนั้นมีค่า ซึ่งตัวเลขนี้กำหนดโดยผู้วิจัยเอง
2.3.4 คำตอบที่เป็นข้อมูลแบบอัตราส่วนมาตร คำตอบของข้อคำถามแบบนี้ไม่ต้องกำหนดเป็นรหัส สามารถใช้คำตอบที่เป็นตัวเลขที่แท้จริงได้เลย
2.1 การกำหนดรหัสสำหรับชื่อตัวแปร
การจัดทำไฟล์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดค่าตัวแปร
การใช้คำสั่งทั่วไปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป
การใช้คำสั่งในการวิเคราะห์คุณภาพของเครื่องมือการวิจัย
การใช้คำสั่งตรวจสอบความเชื่อถือได้ของเครื่องมือการวิจัย
การวิเคราะห์ปัจจัย
หลักการใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
ประเภทของข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นข้อมูลที่ไม่แสดงความแตกต่างของลักษณะออกมาเป็นตัวเลข แต่บอกความแตกต่างออกมาในลักษณะเฉพาะอย่างอื่น
ข้อมูลเชิงปริมาณ เป็นข้อมูลตัวเลขที่สามารถวัดค่าได้ว่ามีค่ามากหรือน้อย
หลักการพิจารณาในการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย
การใช้สถิติพรรณนา
สถิติพรรณนาสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ
สถิติพรรณนาสำหรับข้อมูลเชิงปริมาณ
การใช้สถิติอนุมาน เป็นสถิติที่ใช้ในการทดสอบ
สมมติฐานว่า สมมติฐานที่ตั้งไว้เป็นจริงหรือไม่ ข้อมูลที่น ามาวิเคราะห์จะต้องเป็นข้อมูลที่รวบรวมได้จากกลุ่มตัวอย่าง (sample) เพื่ออ้างงอิงไปยังประชากร (population) กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ สถิติอนุมานเป็นสถิติที่ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างแล้วน าผลที่ได้อ้างอิงไปยังกลุ่มประชากรนั่นเอง
การทดสอบสมมติฐานทางสถิติของการวิจัย สมมติฐานทางสถิติ (statistical hypothesis) คือ ข้อความหรือข้อสมมติที่กำหนดขึ้นจากความเชื่อของบุคคลหรือจากประสบการณ์ของผู้วิจัย สมมติฐานที่กำหนดขึ้นนี้ อาจเป็นจริงหรือไม่จริงก็ได้
การนำเสนอข้อมูลการวิจัยทางส่งเสริมเเละพัฒนาการเกษตร
การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบตาราง
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติพรรณนา
การนำเสนอข้อมูลเชิงคุณภาพ
การนำเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ
การนำเสนอข้อมูลการวิเคราะห์สถิติอนุมาน
การนำเสนอข้อมูลการเปรียบเทียบข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติt-test
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน
การนำเสนอข้อมูลการหาความสัมพันธ์ของข้อมูล
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การนำเสนอข้อมูลจากการใช้สถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุ
การนำเสนอข้อมูลในรูปแบบแผนภูมิและกราฟ
การนำเสนอในรูปแบบแผนภูมิแท่ง
การนำเสนอในรูปแบบแผนภูมิวงกลม
การนำเสนอในรูปแบบกราฟเส้น