Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด, นางสาวสุวภัทร…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
Rheumatic heart dusease(RHD)
เกิดหลังไข้รูห์มาติค
วินิจฉัย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
เสี่ยงต่อเนืื้อเยื่อขาดอออกซิเจน
ไข้รูห์มาติค Rheumatic Fever
วินิจฉัย
2 Major criteria
1 Major criteria and 2 Minor criteria
การรักษา
ให้ยาต้านการอักเสบ
ให้นอนพักทั่วไป
ให้ยาปฎิชีวนะ
ตรวจทางห้องปฎิบัติการ
เพาะเชื้อจากบริเวณคอ
Antistreptolysin ในเลือดสูง
การพยาบาล
มีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ จากการติดเชื้อ
ให้ยาแอสไพริน
ทำ Tepid sponge
ให้นอนพักเต็มที่
ให้อาหารอ่อน
ให้ยาปฎิชีวนะ
อาการ
Major criteria
ระบบประสาท Chorea
Subcutaneous nodules
ปวดตามข้อ Polyarthritis
Erythema marginatum
เจ็บหน้าอก Carditis
Minor criteria
มีไข้ต่ำๆ
ปวดตามข้อ
เลือดกำเดาไหล
ปวดท้อง
Kawasaki disease (KD)
อาการ
ปากแดง
มือและเท้าเปลี่ยนแปลง
ตาแดง 2 ข้าง มักเป็นใน2-4วันแรก
ผื่น
ไข้ 5วัน
ต่อมน้ำเหลืองโต มักเป็นข้างเดียว
ผลตรวจทางห้องปฎิบัติการและตรวจพิเศษ
เม็ดเลือดขาวเพิ่ม
เกร็ดเลือดสูงใน 2-3สัปดาห์
พยาธิสรีรวิทยา
มีการอักเสบของผนังหลอดเลือดแดง
การพยาบาล
วัดชีพจรโดยเฉพาะตอนให้ gamma globulin
ดูผลข้างเคียงของยา
ประเมินการไหลเวียนของเลือด
ลดความไม่สุขสบาย
ประเมินการทำงานของหัวใจ ปอด
จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ
สาเหตุ
แบคทีเรีย
ไวรัสริกเก็จเชีย
Infective endocarditis (IE)
การอักเสบเกิดจาก ติดเชื้อเยื่อบุหัวใจชั้นในสุดหรือภายในหัวใจ
อาการ
ได้ยินเสียงฟู่ของหัวใจ
การตายของสมอง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร นน.ลด
ม้ามโต กดเจ็บ
มีไข้ต่ำ
ภาวะซีด
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะ
ระบาดวิทยา
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
กลุ่มโรคหัวใจที่ได้รับการผ่าตัด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด
การพยาบาล
ประเมินภาวะสุขภาพ ซักประวัติ,ตรวจร่างกาย,ประเมินภาวะจิต
สาเหตุ
เชื้อรา
แบคทีเรีย
วินิจฉัย
ติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
นอนพักผ่อนลดการทำงานของหัวใจ
สังเกตอาการข้างเคียง
ให้ยาปฏิชีวนะ
บันทึก v/s
อาจเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำ
สังเกตอาการอาจเกิดการติดเชื้อ
ทานยาปฏิชีวนะ
ดูแลความสะอาด พักผ่อนเพียงพอ
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
สาเหตุ
หัวใจทำงานมากขึ้นเพราะมีความดันในเวนตริเคิลสูงกว่าปกติ
ผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ การทำงานประสิทธิภาพลดลง
หัวใจทำงานมากขึ้นเพราะมีเลือดในหัวใจเพิ่ม
วินิจฉัยการพยาบาล
เลือดไปเลี้ยงร่างกายต่อนาทีลดลง
การพยาบาล
นอนศีรษะสูง
ได้รับยาตามแผนการรักษา
จำกักกิจกรรม
ภาวะน้ำเกิน
การพยาบาล
ได้รับอาหารมีแคลอรีเพียงพอ
ติดตาม/บันทึกสารน้ำเข้า-ออกในรอบ24ชม.
ได้รับยาขับปัสสาวะ
ประเมินอาการบวม
อาการ
หัวใจซ้ายวาย=หายใจเร็ว ปีกจมูกบาน
หัวใจขวาวาย=หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง หน้าบวม
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด (Congenital heart disease)
ชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
โรคหัวใจตีบของลิ้นพัลโมนารี Pulmonary stenosis (PS)
อาการ
เขียวเล็กน้อย
เหนื่อยง่าย
หัวใจวาย
แน่นหน้าอก
โรคหัวใจที่มีการขอดหรือตีบแคบ Coarctation of aorta (CoA)
อาการ
เหนื่อยหอบ
เหงื่อออกมาก
หายใจแรง เร็ว
โรคหัวใจตีบของลิ้นเอออร์ติค Aortic stenosis (AS)
อาการ
อ่อนเพลียง่าย
เจ็บหน้าอก
การพยาบาล
ตรวจร่างกาย
หายใจเร็ว
หายใจลำบาก
อาการเขียว
หัวใจเต้นเร็ว
เหงื่อออกมาก
เจ็บหน้าอก
ประเมินภาวะจิตสังคม
พ่อ แม่ ป่วยโรคหัวใจเด็กโตมักวิตกกังวล
การซักประวัติ
ติดเชื้อทางเดินหายใจ
เป็นลม หน้ามืด
ดูดนมแล้วเหนื่อย
กลุ่มที่มีการไหลเวียนของเลือดหัวใจซ้ายไปขวา
โรคหัวใจมีรูรั่วที่ผนังกั้นระหว่างเอเตรียม Atrial septal defect (ASD)
อาการ
อ่อนเพลียง่าย
โตช้า
ติดเชื้อในระบบหายใจ
โรคหัวใจมีเลือดไปปอดมาก Patent ductus arteriosus (PDA)
อาการ
หายใจเร็ว
เหงื่อออกมากเวลาดูดนม
เหนื่อยหอบ นน.ขึ้นช้า
สาเหตุ
ออกซิเจนในเลือดต่ำ
ติดเชื้อ
เกิดก่อนกำหนด
โรคหัวใจมีรูรั่วที่ผนังกั้นระหว่างเวนตริเคิล Ventricular septal defect (VSD)
อาการ
ตัวเล็กเลี้ยงไม่โต
ติดเชื้อในระบบหายใจ
เหนื่อยเวลาดูดนม
วินิจฉัย
สมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
การพยาบาล
สังเกตการเปลี่ยนแปลงเสมอ
แนะนำให้จำกัดกิจกรรมที่ออกแรง
นอนราบยกปลายเท้าสูง
เสี่ยงติดเชื้อที่ปอด
การพยาบาล
ด฿แลรักษาความสะอาด
จัดสิ่งแวดล้อมให้สะอาด
รักษาความสะอาดของฟัน
ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
การพยาบาล
นอนศีรษะสูง
ให้ได้รับออกซิเจน
พักผ่อนเต็มที่
ประเมินการสะสมน้ำในร่างกาย
ชนิดเขียว
เลือดไปปอดน้อย
Pulmonic artresia (PA)
Tricuspid atresia (TA)
Tetralogy of Fallot (TOF)
ผิดปกติ4อย่าง
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่วขนาดใหญj (VSD)
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคค่อนไปทางขวา (Overriding aorta)
การตีบของลิ้นพัลโมนารี (Pulmonic stenosis)
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา (Right ventricular hypertrophy)
อาการ
เขียวทั่วร่างกาย
ภาวะหัวใจวาย
เลือดไปปอดมาก
การพยาบาล
ตรวจร่างกาย
นิ้วมือ/เท้า ปุ้ม
ตาขาวแดง
ภาวะเลือดข้น
สมองขาดออกซิเจนเฉียบพลัน
อาการเขียวคล้ำทั่วร่างกาย
ประเมินภาวะจิตสังคม
พ่อแม่วิตกกังวล
ซักประวัติ
นั่งยองๆแล้วรู็สึกเหนื่อย
ปวดศีรษะ
อาการเขียวเป็นพักๆ
วินิจฉัย
ภาวะสมองขาดออกซิเจนเฉียบพลัน
การพยาบาล
จัดท่านอนเข่าชิดอก
ให้ออกซิเจน
ดูแลให้สงบเร็วที่สุด
ติดตามความเข้มข้นออกซิเจน
โอกาสเกิดฝีในสมอง
การพยาบาล
บันทึก v/s ทุก4ชม.
ติดตามผลทางห้องปฎิบัติการ
สังเกตมีไข้ต่ำไม่ทราบสาเหตุ
ให้ยารักษาประคับประคอง
อาการ
เขียวตั้งแต่เกิด ใน2-3วันแรกหลังคลอด หอบเหนื่อย อาการของหัวใจวาย
นางสาวสุวภัทร อุสาพรหม เลขที่99 62111301102 ปี2 รุ่น37