Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบประสาท - Coggle Diagram
ระบบประสาท
Cerebrospinal Fluid: CSF
หน้าที่
-
-
-
ช่วยให้สารหลายชนิตที่อยู่ในเลือด ที่อาจจะเป็นอันตรายต่อเนื้อเยื่อสมองซึมเข้าสู่เนื้อเยื่อสมองไม่ได้ หรือได้น้อย ที่เรียกว่า Blood Brain Barrier
ร้อยละ 60 - 70 ของ CSF สร้างจาก Ependymal Cell ที่อยู่ในเนื้อเยื่อ Choroid Plexus ที่อยู่ใจกลางสมองในส่วนที่เป็นโพรงน้ำสมอง
-
-
ถูกสร้างในปริมาณ 500 มิลลิลิตรต่อวันในการไหลเวียนจะมีความดัน (ความดันในกะโหลกศีรษะ) ประมาณ 7 - 15 มิลลิลิตรปรอต
-
ระดับความรู้สึกตัว
-
-
-
-
-
Coma หมดสติ ไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรง ไม่มี Reflex, สัญญาณชีพเปลี่ยนแปลง
การอักเสบและการติดเชื้อ
-
Brain abscess
แบ่งออกเป็น
Epidural Abcess
เป็นฝีที่เกิดระหว่างเยื่อหุ้มสมองกับกะโหลกศีรษะ มักจะเป็นโรคแทรกซ้อนของการติดเชื้อไวรัสหรือจากการบาดเจ็บที่ทะลุกะโหลกศีรษะ
-
เชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยได้แก่ พวก Streptococcus ทั้งชนิด aerobic และ anaerobic ส่วนใหญ่เป็น mixed infection
-
-
-
-
-
Spinal Cord Injury
บาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injury) ตาม standard for
surveillance of neurotrauma ขององค์การอนามัยโลก
การบาดเจ็บไขสันหลังรวมถึงรากประสาทที่อยู่ในโพรงของกระดูกสันหลัง รวมถึง cauda equina ซึ่งเป็นรากประสาทที่ออกจากส่วนปลายของไขสันหลังด้วย
-
ผลจากการบาดเจ็บไขสันหลังจะทำให้มีภาวะสูญเสียการทางาน
ของกล้ามเนื้อ การรับความรู้สึก การควบคุมการทำงานของลำไส้
และกระเพาะปัสสาวะ รวมถึง reflexes ต่างๆอีกด้วย
-
-
-
หลอดเลือดเลี้ยงสมอง
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
-
Vertebro-basilar System
ประกอบด้วย
Vertebral artery
เป็นหลอดเลือดที่แยกจาก subclavian arteries ทอดผ่าน foramen transversarium ของกระดูกสันหลังส่วนคอ ระดับ C6-C1 แล้วเข้าสู่โพรงกะโหลกศีรษะทาง foramen magnum
Basilar Artery
เป็นหลอดเลือดที่เกิดจากการรวมกันของ right and left vertebral arteries แล้วทอด
อยู่ทางด้านหน้าของ pons ขึน้ ไปสิน้ สุดในระดับ midbrain โดยแยกเป็น right and left posterior cerebral arteries: PCA
Posterior cerebral artery มี 2 ข้าง แต่ละข้างเชื่อมกับ posterior communicating arteries ของ circle of Willis
ทา ให้ carotid system และ vertebro-basilar system เชื่อมต่อกัน posterior cerebral
artery มีแขนงแยกไปเลีย้ ง brainstem และ cerebral cortex บริเวณด้านล่างของ
temporal lobe และ occipital lobe
Disease
-
Cerebral Ischemia
สมองขาดเลือดชั่วขณะ (Transient Ischemic Attack,TIA)
เกิดจากเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้ชั่วขณะ ทำให้ผู้ป่วยมีอาการคล้ายโรคหลอดเลือดสมอง แต่ต่างกันตรงที่ TIA มักไม่ทาให้สมองเกิดความเสียหายอย่างถาวร
-
-
สาเหตุ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง ภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด ภาวะหลอดเลือดสมองตีบ ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูง
Cerebral Infarction
ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยงเนื่องจากหลอดเลือดตีบ หลอดเลือดอุดตัน หรือหลอดเลือดแตก ส่งผลให้เนื้อเยื่อในสมองถูกทาลาย การทางานของสมองหยุดชะงัก
-
-
สมอง
Diseases
-
Cerebral Edema
-
-
สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการบาดเจ็บและอาการเจ็บป่วยต่าง ๆ ภาวะนี้เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
เบ่งเป็น
Vasogenic Edema
-
-
มีการทำลายของ BBB ทำให้มีการเคลื่อนที่ของน้ำและโปรตีนอย่างอิสระผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ผ่านเข้าช่องว่างระหว่างเซลล์
-
-
-
-
-
Cerebral Hemorrhage
ลักษณะ
-
-
-
ก้อนเลือดในสมอง จะกดหลอดเลือดทำให้เลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอจนกระทั่งสมองขาดเลือด หากเป็นรุนแรงจะทำให้สมองตายและอันตรายถึงแก่ชีวิต
สาเหตุ
-
-
-
-
โรคเลือด เช่น โรค Hemophilia, Sickle Cell Anemia
-
-
-
ประเภท
-
Subdural Hemorrhage
-
-
เกิดจาก countre-coup injury คือ ศีรษะถูกกระทบด้าน
หนึ่ง แต่สมองเคลื่อนไปกระทบกับกะโหลกอีกด้านหนึ่ง
เกิดสมองช้า และมีการฉีกขาดของหลอดเลือดบริเวณผิวสมอง
-
-
-
Bell's Palsy
อาการ
กล้ามเนื้อใบหน้าข้างหนึ่งอ่อนแรงชั่วคราว ทำให้เกิดอาการหลับตาไม่สนิท ลืมตาไม่สุด มุมปากตก ปากเบี้ยว เมื่อรับประทานอาหารหรือดื่มน้ำจะมีน้ำลายไหล
-
การเกิดของโรค
เส้นประสาทคู่ที่ 7 ซึ่งวางอยู่ในช่องเล็กของกระดูกศีรษะ เชื่อว่าเมื่อเส้นประสาทบวมเนื่องจากการอักเสบ หรือได้รับอุบัติเหตจะทำให้เกิดการกดทับและขาดเลือดไปเลี้ยงที่สมอง
-
Fungal Infection
-
-
-
เกิดจาก Cryptococcus neoformans ก่อให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจ แต่แพร่ไปยังสมองได้ ทาให้เกิดการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองและเนื้อสมอง