Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
NEURO 2 HEMORRHAGIC STROKE- โรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง,…
NEURO 2
HEMORRHAGIC STROKE-
โรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันกะโหลกศีรษะสูง จากภาวะสมองขาดเลือด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะหลอดเลือดในสมองตีบเฉียบพลัน จากพยาธิสภาพของโรค
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองบวม เนื่องจากมีความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากพยาธิสภาพของโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง
เสี่ยงการกำซาบเลือดของเนื้อเยื่อสมองไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากการไหลเวียนของเลือดในสมองถูกขัดขวาง
เสี่ยงต่อการชัก เนื่องจากมีเลือดออกจากพยาธิสภาพของโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง
ไม่สุขสบาย เนื่องจากปวดศีรษะจากพยาธิสภาพของโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง
เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองได้น้อย
เสี่ยงต่อภาวะเกร็ดเลือดต่ำ เนื่องจากมีเลือดออกจากพยาธิสภาพของโรคหลอดเลือดสมองชนิดเลือดออกในสมอง
การเคลื่อนไหวบกพร่องเนื่องจาก
กล้ามเนื้อแขนขาซีกซ้ายอ่อน
เปรียบเทียบทฤษฎี/ผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะหรือวิงเวียนร่วมด้วย จากการเพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ
มีอาการอ่อนแรงแขนขาด้านตรงกันข้าม
ความผิดปกติทางระบบประสาทเฉพาะ
ที่ (localizing sign)
การมองเห็นมีปัญหาฉับพลัน
พูดไม่ชัด พูดไม่ออก สับสน นึกคำพูดไม่ออก
สูญเสียการทรงตัว
พยาธิสภาพ
เกิดจากผนังของหลอดเลือดสมองขนาดเล็กอ่อนแอ ทำให้เกิดการฉีกขาดได้ง่าย เมื่อเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดสมอง เลือดที่ออกมาจากการแตกของหลอดเลือดจะรวมตัวกันเป็นก้อนเลือด (hematoma) เข้าไปเบียดแทนที่เนื้อสมองบริเวณที่มีการแตกของหลอดเลือด ทำให้เนื้อสมองบริเวณนั้นถูกกด เกิดการอักเสบ หากถูกกดและอักเสบเป็นระยะเวลา
3-6 ชั่วโมง ทำให้เกิดภาวะเซลล์สมองขาดเลือด และเกิดเนื้อสมองตาย และอาจทำให้มีภาวะสมองบวม (brain edema) ส่งผลให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูง ถ้าอาการเลือดออกรุนแรงจะทำให้เกิดภาวะสมองยื่นได้
การตรวจร่างกาย
การตรวการอ่อนแรงของแขนขา (pronator drift)
การตรวจกำลังของขา
การตรวจการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อใบหน้า (Facial drop)
ตรวจร่างกายตามระบบ
สาเหตุ/ปัจจัยเสี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขไม่ได้
เพศ
เชื้อชาติ พัธุกรรมบางชนิด
อายุ
ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถแก้ไขได้
การดื่มแอลกอฮอล์
โรคอ้วน ภาวะน้ำหนักเกิน
โรคหัวใจ
โรคเลือดบางชนิด
ขาดการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ภาวะไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
โรคเบาหวาน
โรคความดันโลหิต
Amyloidangiopathyเกิดจากความ
เสื่อมของหลอดเลือด
Chronic subdural hematoma
หลอดเลือดสมองโป ่งพองแตก
(rupture cerebral aneurysm)
เนื้องอกสมอง(braintumor)
ภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
(coagulopathy)
หลอดเลือดสมองอักเสบ(vasculitis)
Primary hemorrhagic stroke
เป็นกลุ่มที่เลือดออกเองในสมองจากหลอดเลือด
แดงสมองขนาดเล็ก (perforating artery)
Secondary hemorrhagic stroke
เป็นกลุ่มที่เลือดออกจากพยาธิสภาพที่หลอดเลือดสมอง
ซึ่งสามารถตรวจพบได้
การตรวจพิเศษ
การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI breain)
การตรวจเอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมอง
LAB
Coagulagram
Electrolyte
BUN
Cr
FBS
CBC
การเจาะตรวจน้ำไขสันหลัง
ผู้ป่วย
มีอาการปวดศีรษะ แขนขาอ่อนแรงคลื่นไส้ อาเจียน ง่วงซึม
มีประวัติดื่มสุรามาตั้งแต่อายุ 30 ปี
Level of consciousness : E2V4M6
motor power แขนขาขวา เกรด 5 แขนขาซ้าย เกรด 2 , Mild Lt facial weakness
ความดันโลหิตสูง
ผลตรวต CT scan พบมีเลือดออกที่สมองข้้างขวา
การรักษาตามทฤษฎี
แบบใช้ยา
ในระยะเฉียบพลัน
ยาแอสไพลิน
ยาสลายลิ่มเลือด
ป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเกาะกลุ่มของเกล็ดเลือด
ยาต้านเกล็ดเลือด
การนอนพักฟื้นในหอผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือด (stroke unit) เพื่อควบคุมความดันโลหิต ในช่วง 1 อาทิตย์แรกหลังมีอาการ
แบบไม่ใช้ยา
การผ่าตัด
Balloon angioplasty and stent placement
Carotid endarterectomy
Craniotomy
การรักษาที่ผู้ป่วยได้รับ
ไม่ใช้ยา
ได้รับสารน้ำ 0.9% NSS 1,000ml vein drip 80cc/hr.
การผ่าตัด Craniotomy with remove hematoma
ใช้ยา
Losec 40 mg vein q 12 hr
กลุ่มยา ยายับยั้งการหลั่งกรด (Proton Pump Inhibitors)
ผลข้างเคียง ปวดศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง มีแก๊สในกระเพาะอาหาร
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งเอนไซม์ที่เรียกว่า Hydrogen-potassium Adenosinetriphosphatase ทำให้ลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร จึงช่วยให้อาการของโรคกรดไหลย้อนและแผลในกระเพาะอาหารและลำไส้ดีขึ้น
Nicardipine
กลไลการออกฤทธิ์ การ ยับยั้งการเคลื่อนตัวของแคลเซียมไอออนผ่านช่องทางบริเวณผนังของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ และเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ เป็นผลให้เซลล์กล้ามเนื้อเหล่านั้น ไม่สามารถหดตัวได้ จึงเกิดการคลายตัวในที่สุด ผลทำให้เกิดหลอดเลือดแดงทั่วร่างกายขยายตัว รวมทั้งหลอดเลือดแดงโคโรนารี่ที่ไปเลี้ยงหัวใจ ทำให้ความดันโลหิตลดลง และเลือดไปเลี้ยงหัวใจดีขึ้น ยาปิดกั้นแคลเซียมแบ่งเป็น 2 กลุ่มหลักตามโครงสร้างทางเคมีและการออกฤทธิ์คือ
ผลข้างเคียง อาการเวียนศีรษะ ปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียนและท้องเสีย
กลุ่มยาปิดกั้นแคลเซียม (Calcium Channel Blocker)
20% Manntol 300 ml
ผลข้างเคียง สสาวะมากขึ้น คลื่นไส้ อาเจียน มีไข้ หนาวสั่น ปวดศีรษะ น้ำมูกไหล ตัวบวม น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เจ็บหน้าอก มีผื่นขึ้น มองเห็นไม่ชัด เวียนศีรษะ
กลไกการออกฤทธิ์ ยับยั้งการดูดซึมกลับของ sodium และน้า ที่บริเวณ proximal tubule, descending limb of the loop of henle และ collecting tubule โดยการที่ตัวยามีคุณสมบัติในการดูดน้าจากเนื้อเยื่อต่าง ๆ ในร่างกายเข้ามาในกระแส เลือด ทำให้มีปริมาณน้าและเกลือแร่ผ่านเข้าไตมากขึ้น ขับน้าและ electrolyte ออกทาง ปัสสาวะได้มากขึ้น
กลุ่มยาขับปัสสาวะ
เหตุผลที่ได้รับยา ใช้รักษาภาวะสมองบวม ลดความดันภายในลูกตาหรือกะโหลกศีรษะ
นางสาวธารทิพย์ แสงแดง เลขที่ 30 กลุ่ม 3