Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ และหลอดเลือด - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา
Ventricular Septal Defect (VSD)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้น
ระหว่าง เวนตริเคิล
อาการและอาการแสดง
มีอาการเหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม
มีเหงื่อออกมาก
ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต
พัฒนาการอาจจะปกติหรือล่าช้า
ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย ๆ
Atrial septal defect (ASD)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้น
ระหว่างเอเตรียม
อาการและอาการแสดง
มักจะไม่มีอาการแสดงหรืออาการที่ผิดปกติ
การติดเชื้อในระบบหายใจ
อาการอ่อนเพลียเหนื่อยง่ายเวลาออกแรงหรือออกกำลังกาย
มีการเจริญเติบโตช้า
Patent ductus arteriosus (PDA)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีเลือดไปปอดมาก ซึ่งมีความผิดปกติคือ หลอดเลือด ductus arteriosus ยังเปิดอยู่ภายหลังเด็กเกิด
สาเหตุ
การเกิดก่อนกำหนด
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การติดเชื้อ
อาการและอาการแสดง
PDA ขนาดใหญ่มักจะมาด้วยอาการของหัวใจซีกซ้ายวาย
โดยมีอาการหายใจเร็ว
เหงื่อออกมากเวลาดูดนม
เหนื่อยหอบ
น้ำหนักขึ้นช้า
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
Aortic stenosis (AS)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลซ้าย
อาการและอาการแสดง
ในพวกที่ลิ้นตีบมากอาจจะมีอาการอ่อนเพลียง่ายเวลาเล่นเจ็บหน้าอก
Pulmonary Stenosis (PS)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
ภาวะหัวใจวาย
เขียวเล็กน้อย
มีอาการเหนื่อยง่าย
หรือเจ็บแน่นหน้าอก
Coarctation of the Aorta (CoA)
รคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการคอดหรือการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือดductus arteriosus มาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
อาการและอาการแสดง
หายใจแรงและเร็ว
เหนื่อยหอบ
เหงื่อออกมาก
ดูดนมช้าเลี้ยงไม่โต
จะตรวจพบชีพจรที่ขาทั้ง 2 ข้างเบากว่า
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย
มีประวัติเป็นลม หรือมีอาการหน้ามืด
ดูดนมแล้วเหนื่อย ต้องหยุดเป็นช่วงๆ
การตรวจร่างกาย
อาการเขียว หรือสีผิวเขียวคล้ำ
หายใจเร็ว (tachypnea)
อาการหายใจลำบาก (dyspnea)
หัวใจเต้นเร็ว (tachycardia)
เหนื่อยง่ายเวลาที่มีกิจกรรม
เหงื่อออกมากผิดปกติ
อาการบวม (edema)
อาการเจ็บหน้าอก (chest pain)
การประเมินภาวะจิตสังคม
บิดามารดาหรือผู้ป่วยโรคหัวใจที่เป็นเด็กโตมักจะวิตกกังวล
เกี่ยวกับความเจ็บป่วย
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1.เนื้อเยื่อของร่างกายมีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิการทำงานของหัวใจลดลง
ผู้ป่วยอาจมีอาการเป็นลมหมดสติ เนื่องจากสมองได้รับออกซิเจนไม่
เพียงพอ จากการที่มีเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ปอด เนื่องจากมีเลือดไป
ปอดมาก
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เนื่องจากมีความผิด
ปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ทำให้มีการไหลลัดของเลือด
ผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย หรือต่ำกว่า
เกณฑ์ เนื่องจากดูดนม/รับประทานอาหารได้น้อย
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่ายการเคลื่อนไหวร่างกาย แขน ขา จึงมีน้อย หรือในเด็กเล็กบางรายที่มีอาการหายใจลำบาก
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจและ
หลอดเลือดตั้งแต่กำเนิดของบุตร
ผู้ป่วยมีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน เนื่องจาก
สมองขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจนได้ง่าย
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในร่างกายได้ เช่นหลอดเลือดฝอย โดยเฉพาะในหลอดเลือดฝอยที่สมอง เนื่องจากมีภาวะเลือดข้น
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดฝีในสมองได้ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจ
และหลอดเลือด ทำให้เลือดบางส่วนไม่ได้ส่งไปฟอกที่ปอด
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจinfective endocarditis (IE)
การอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อบุหัวใจชั้นในสุด
สาเหตุ
แบคทีเรีย เชื้อรา ริคเกทเซีย (rickettsia)หรือไวรัส
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ลักษณะไข้ต่ำ ๆ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดเมื่อย เหนื่อยง่าย
เสียงฟู่ของหัวใจ (heart murmur)
การตายของสมอง
ม้ามโต กดไม่เจ็บ อาจพบตับโต
ภาวะซีด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ
ควรติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือดเป็นระยะ ๆ
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อที่ทำให้เกิด IE เช่น ฟัน ทางเดินปัสสาวะ
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย ตรวจร่างกายพบเสียงฟู่ของหัวใจ
การประเมินภาวะจิตสังคม
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ESR สูง เม็ดเลือดขาวสูง ปัสสาวะมี
เลือดปน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เช่น ที่ลิ้นหัวใจต่าง ๆ
อาจเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำได้
ไข้รูห์มาติค (Rheumatic Fever)
มักเกิดตามหลังคออักเสบเนื่องจากเชื้อβ-hemolytic streptococcus group A โรคนี้อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจวายและลิ้นหัวใจมักถูกทกำลา
อาการและอาการแสดง
major criteria
Carditis
polyarthritis
chorea หรือ sydenham’s chorea
subcutaneous nodules
erythema marginatum
minor criteria
มีไข้ต่ำ ๆ
polyarthralgia มีอาการปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ
เลือดกำเดาไหล
ปวดท้อง รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอกซีดและน้ำหนักลด
มีประวัติเคยเป็นไข้รูห์มาติค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
กระเพาะเชื้อจากบริเวณคอ (thoat swab culture)
antistreptolysin O (ASO) ค่า ASO ในเลือดจะสูงขึ้นเพราะมี
การสร้างแอนติบอดีต่อเชื้อมาก่อน
การวินิจฉัยโรค
2 major criteria
1 major criteria และ 2 minor criteria
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะสำหรับกำจัดเชื้อสเตร็ปโตคอคคัสกลุ่มเอ
ให้ยาสำหรับต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ ได้แก่ salicylate และ steroid
2.1 ผู้ป่วยที่มี arthritis carditis ที่ไม่มีหัวใจโต ให้ยา salicylates
2.2 ผู้ป่วยที่มี carditis ที่มีหัวใจโตหรือมีอาการหัวใจวาย ควรให้ยาเพรดนิโซโลน2 มิลลิกรัม
ให้นอนพัก โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มี carditis และอาการหัวใจวาย ให้พักจนกว่าจะควบคุมภาวะหัวใจวายได้ ต่อมาค่อย ๆ เพิ่มการเคลื่อนไหวมากขึ้นในเวลา 3 เดือน
ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้การรักษาโดยให้ยา digitalis เช่น digoxinยาขับปัสสาวะ ยาลด afterload
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ ติดเชื้อในระบบหายใจ เช่น เป็นหวัด เจ็บคอ
การตรวจร่างกาย มีไข้ carditis, polyarthritis, chorea, erythema
marginatum, subcutaneous nodule
การประเมินภาวะจิตสังคม
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
4.1 throat swab culture ให้ผลบวก
4.2 antistreptolysin O (ASO) unit
4.3 ค่า ESR สูง
4.4 ภาพถ่ายรังสีทรวงอก
4.5 ภาพถ่ายรังสีของข้อ จะพบมีน้ำในข้อ
4.6 การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ผู้ป่วยมีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ เนื่องจากมีการติดเชื้อ
β-hemolytic Streptococcus group A
มีการอักเสบของข้อ เนื่องจากมีการติดเชื้อ β-hemolytic Streptococcusgroup A
อาจเกิดการกลับซ้ำของ rheumatic fever โดยมีการติดเชื้อ β-hemolyticStreptococcus group A
Kawasaki disease (KD)
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็จเชีย และอื่นๆที่กระตุ้นให้เด็กบางคนตอบสนองทางอิมมูนผิดปกติทำให้เกิดอาการขึ้น
อาการและอาการแสดง
ไข้ ตาแดง ปากแดง การเปลี่ยนแปลงที่มือแดง เท้า ผื่นและต่อมน้ำเหลืองที่โต
ไข้ ส่วนใหญ่จะเป็นไข้สูงเป็นพักๆ โดยช่วงที่ไข้ลดมักจะไม่ลดลงจนเป็นปกติใช้เวลามีไข้ 5 วัน
การเปลี่ยนแปลงที่มือและเท้า เป็นลักษณะที่ไม่ค่อยเห็นในโรคอื่นๆ มือ เท้า จะบวม แดงข่วงแรกๆ ของโรค ประมาณ 2 – 3 สัปดาห์สัปดาห์หลังจากเริ่มมีไข้จะเห็นผิวหนังลอกประมาณ 4 – 6 สัปดาห์
ตาแดง จะเป็นทั้ง 2 ข้าง มักเห็นภายใน 2 - 4 วันแรกนับจากเริ่มมีไข้ การแดงจะเป็นบริเวณตาขาวมาก
ริมฝีปากแดงและแห้ง เห็นได้ชัดเจนตั้งแต่วันแรกๆของ
โรค มีริมฝีปากแตก อาจมีเลือดออกด้วย
ต่อมน้ำเหลืองโต มักพบที่ anterior cervical triangle
มักเป็นข้างเดียวลักษณะค่อนข้างแข็ง
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
มีเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
1.ประเมินการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือดเกี่ยวกับการมีอาการของหัวใจอักเสบ
2.ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา
วัดชีพจร
ดูปฏิกิริยาข้างเคียงของยา
ตวงและบันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ 24 ชั่วโมง
อาหารไม่เพียงพอทั้งทางปากและหลอดเลือดดำ
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูอาการบวมของภาวะหัวใจวาย
ทำความสะอาดปาก ฟัน ปากแตกแห้ง
9.ระวังการติดเชื้อของผิวหนัง
10.ลดความไม่สุขสบาย
11.จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ
12.ลดความกลัวและวิตกกังวล
13.การดูแลสุขภาพที่บ้าน
โรคหัวใจรูห์มาติคrheumatic heart disease (RHD)
โรคหัวใจในเด็กที่เกิดภายหลังมักเกิดตามหลังไข้รูห์มาติค ซึ่งทำให้มีการอักเสบของหัวใจทุกชั้น
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
บิดามารดาเกิดความวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยของบุตร และการดูแลบุตรเมื่อกลับบ้าน
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ β-hemolytic Streptococcus group A ซ้ำและมีการติดเชื้อเยื่อบุหัวใจ จากการเป็นโรคหัวใจรูห์มาติคมาก่อน
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายขาดออกซิเจน เนื่องจากมีภาวะ
หัวใจวายเพราะมีการอักเสบของหัวใจและพยาธิสภาพของลิ้นหัวใจ
ผู้ป่วยมีความเครียดต่อการถูกจำกัดให้พักอยู่บนเตียงและอยู่โรงพยาบาลเป็นระยะเวลานาน
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
สาเหตุ
ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น
กลุ่มที่มีเลือดไหลลัดจากหัวใจซีกขวา
กลุ่มที่มีการรั่วของลิ้นหัวใจ
กลุ่มที่มีเลือดไปปอดมากขึ้น
ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ
จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
อาการของหัวใจซีกซ้ายวาย หายใจเร็ว ปีกจมูกบาน หายใจลำบาก หน้าอกบุ๋ม
อาการของหัวใจซีกขวาวาย หลอดเลือดดำที่คอโป่งพองบวม ตาบวม ตับโต บางรายอาจมีม้ามโต
การรักษา
Ianoxin
เพิ่มแรงในการบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
เพิ่มการขับปัสสาวะออกจากร่างกายมากขึ้น (diuresis)
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การซักประวัติ
มีประวัติติดเชื้อบ่อย เช่น ปอดอักเสบ
เด็กมักเหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม ดูดนมได้ช้า
ออกแรงแล้วมีอาการเหนื่อย
เด็กมักโตช้า ตัวเล็ก เด็กมีน้ำหนักน้อย
เหงื่อออกมาก
กระสับกระส่าย
ปัสสาวะน้อย
หายใจแรง
หัวใจเต้นเร็ว
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ปริมาณเลือดไปเลี้ยงร่างกายต่อนาทีลดลง เป็นผลจากความผิดปกติ
ของหัวใจหรือหลอดเลือด เช่น VSD,ASD,PDA
ผู้ป่วยมีภาวะน้ำเกิน เนื่องจากมีการคั่งหรือการสะสมของน้ำใน
ร่างกายเพิ่มขึ้น ส่งผลให้หัวใจต้องทำงานหนักเกินไป
ผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ เนื่องจากมีอัตราการเผาผลาญพลังงานสูงกว่าปกติ เป็นผลจากการทำหน้าที่ของหัวใจลดลง และการเพิ่มขึ้นของอัตราการเต้นของหัวใจและอัตราการหายใจ
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดภาวะเป็นพิษจากดิจิตาลิส
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจได้ เนื่องจากมีการคั่งของเลือดในปอด เนื้อที่ของปอดในการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนลดลง ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการทำงานของปอดลดลง และผ่านต่อการติดเชื้อ และการเจริญเติบโตของเชื้อโรค
บิดามารดาและ/หรือผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
และสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อย อาจมีภาวะสมองขาด
ออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
Tetralogy of Fallot (TOF)
Pulmonic atresia (PA)
Tricuspid atresia (TA)
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก อาการเขียว และมีภาวะ
หัวใจวาย
Transposition of great arteries
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อยมีความผิดปกติ 4อย่าง
การตีบของลิ้นพัลโมนารี (pulmonic stenosis)
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
อาการเขียวทั่วร่างกาย
ภาวะหัวใจวาย
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
Transposition of the Great Arteries (TGA)
มีความผิดปกติ คือ มีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ
อาการและอาการแสดง
อาการเขียวมากตั้งแต่แรกเกิด ภายใน 2-3 วันแรกหลังเกิด
หอบเหนื่อย
อาการของหัวใจวาย
การพยาบาล
การซักประวัติ
มีอาการเขียวเป็นพักๆ
มีประวัติชอบนั่งยอง ๆ เวลารู้สึกเหนื่อย
มีอาการปวดศีรษะ เนื่องจากภาวะ cerebral hypoxemia
. การตรวจร่างกาย
อาการเขียวคล้ำทั่วร่างกาย
ภาวะเลือดข้น มีความเข้มข้นของออกซิเจนลดลง
นิ้วมือนิ้วเท้าปุ้ม
ตาขาวแดง
ท่านั่งยอง ๆ
ภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
ฝีในสมอง
การประเมินภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวล ของผู้ป่วยและบิดามารดาเกี่ยวกับการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจน ร่วมกับอาการเขียวทั่วตัวของเด็ก