Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน, บทที่ 4 การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน,…
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาที่ยั่งยืน
สังคม
สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ
ผลกระทบของการศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาของประเทศ
การตัดสินใจของชุมชน
คุณภาพชีวิตของประชาชน
สังคมปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น
สาระสำคัญของการศึกษาเพื่อการพัฒนา
ที่ยั่งยืน
การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน เน้นการส่งเสริมให้บุคคล สามารถมองได้รอบด้าน ครอบคลุมทั้งที่เป็นประเด็นปัญหาในระดับโลก และความเชื่อมโยงหรือ ผลกระทบของปัญหาเหล่านั้นในระดับ ท้องถิ่น
การพัฒนาได้นั้น จําเป็นต้องเป็นเศรษฐกิจ
ในสังคมที่มีรากฐานมั่นคง
การพัฒนาที่ยั่งยืน จําเป็นต้องอาศัย
ความรู้ความเข้าใจอย่างน้อย 2 ด้าน
ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความหมายและความสําคัญของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน”
ความรู้เกี่ยวกับแนวทางปฏิบัติสู่ การพัฒนาที่ยั่งยืน
ทักษะ (Skills) ประชากรของโลกทุกคน ยังต้องได้รับการเสริมทักษะ หรือ ความขํานาญ ที่จําเป็นต่อการดํารงตนในบริบทของการพัฒนาที่ ยั่งยืน ตามเงื่อนไขของสังคมหรือชุมชนที่ตนอยู่ร่วมอาศัย
**การสร้างความเข้าใจให้ประชากรโลก เกี่ยวกับค่านิยมที่เหมาะสมสําหรับสังคมที่ยั่งยืน เพื่อให้คนได้ตระหนักถึงแนวความคิดหรือพฤติกรรมที่ตนเลือกใช้เป็นแบบแผนในการใช้ชีวิตประจําวัน
บทสรุป
ต้องปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ยืดผู้เรียนเป็นสําคัญ
มีทักษะในการเรียนรู้ที่จําเป็นในการพัฒนาตนเองอย่างมีคุณภาพ
กระบวนการจัดการศึกษาของชาติได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบอย่าง กว้างขวาง
การจัดตั้งคณะกรรมการบริหาร สถานศึกษา ตามองค์ประกอบที่กําหนดใน พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ
การบริหารและจัดการศึกษาแบบ Schoolbased Management
การจัดทําแผนพัฒนาสถานศึกษา
การจัดทําระบบข้อมูลสารสนเทศ
การจัดทําระบบการตรวจสอบและประเมินตนเอง
การพัฒนาครูและบุคลากรด้านการศึกษา
การจัดกระบวนการเรียนการสอน โดยเน้นให้ผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด
การนําภูมิปัญญาทํองถิ่นมาร่วมจัดการเรียนการสอน
การจัดทําและพัฒนา หลักสูตร และแผนการเรียนการสอนที่หลากหลาย
บทที่ 4
การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
นางสาวชนันรัฏษ์ พัฒนวรโชติ 63121684148