Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อหิวาตกโรค (Cholera) - Coggle Diagram
อหิวาตกโรค (Cholera)
การพยาบาล
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ(Ringer lactate,Acetar,NSS)
-
เตรียมเตียงที6มีช่องตรงกลางสําหรับให้ผู้ป่วยนอนถ่ายได้ โดยมีถัง สําหรับรองรับที6สามารถดูลักษณะและวัดปริมาณอุจจาระได้
-
-
-
-
-
การรักษา
แก้ไขภาวะขาดน้ำ การทดแทนอุจจาระที่เสียไป และการลดปริมาณอุจจาระให้ออกน้อยลงโดยให้น้ำเกลือแร่ทางหลอดเลือดหรือให้ดื่ม ORS - ป้องกันการขาดอาหารโดยเริ่มให้อาหารภายหลังแก้ไขเกลือและน้ำที่สูญเสียไป และชดเชยส่วนที่เสียไปทางอุจจาระพร้อมกันเสร็จสิ้นแล้วในเวลา 4 ชั่วโมง อาหารพวกแป้ง เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก ล้าไส้จะย่อยได้และดูดซึมได้
การรักษาจำเพาะด้วยยาปฏิชีวนะท้าลายเชื้อในลำไส้เล็ก อาจลดปริมาณอุจจาระลงได้บ้าง กำจัดเชื้อได้ในระยะสั้นทำให้ผู้ป่วยสามารถกลับบ้านได้เร็วขึน
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เรียกว่า Vibrio cholerae ผลกระทบร้ายแรงของโรคนี้เป็นผลมาจากสารพิษที่เรียกว่า CTX ซึ่งผลิตโดยแบคทีเรียเหล่านี้ในลำไส้เล็ก CTX จะรบกวนการไหลเวียนปกติของโซเดียมและคลอไรด์เมื่อจับกับผนังลำไส้ เมื่อแบคทีเรียยึดติดกับผนังลำไส้เล็กในร่างกายแล้วจะเริ่มหลั่งน้ำจำนวนมากที่ทำให้เกิดอาการท้องเสียและสูญเสียของเหลวและเกลือแร่อย่างรวดเร็ว
พยาธิสภาพ
V. cholerae ท้าให้เกิดอุจจาระร่วงโดยไม่ทำให้เกิดการอักเสบของเซลล์เยื่อบุล้าไส้ V. cholerae สร้างโปรตีน TCP ซึ่งยื่นผ่านชั้นเยื่อเมือกที่ฉาบผิวเยื่อบุลำไส้ เชื้อทำการแบ่งตัวเพิ่มจำนวนขณะเดียวกันจะสร้าง CTX ซึ่งเป็น enterotoxin ซึ่งมีมวล 84,000 kDa B subunit จะจับกับ GM1 receptors ของเซลล์เยื่อบุล้าไส้ แล้วเคลื่อน A subunit เข้าไปในเซลล์เยื่อบุล้าไส้เล็ก หลังจากนั้น A subunit จะกระตุ้น adenylate cyclase ท้าให้มีการสร้าง cyclic AMP เพิ่มขึน แล้วออกฤทธิ์ยับยังการดูดซึมโซเดียมกลับเข้าเซลล์ที่เซลล์ส่วนยอดของวิลไล (villi) และกระตุ้น crypt cell ให้หลั่งคลอไรด์เข้าโพรงล้าไส้ที่ล้าไส้เล็ก CTX มีฤทธิ์ยับยั งการดูดซึมของล้าไส้ใหญ่ด้วย12 นอกจากนั น V. cholerae ยังสร้างสารพิษอื่น ๆ เช่น accessory cholera enterotoxin (ACE), zonular occludens toxin (ZOT) ซึ่งมีฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งสารน้ำจากเยื่อบุล้าไส้และยังเป็น hemolysin/cytolysin ด้วย
อาการ
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียนเล็กน้อย ถ่ายเหลวหรือถ่ายเป็นน้ำวันละหลายครั้ง ถ่ายเป็นน้ำรุนแรงโดยไม่มีอาการปวดท้อง ลักษณะเป็นน้ำสีเหลือง แต่ต่อมาจะกลายเป็นน้ำล้วนๆ บางรายอุจจาระอาจมีสีเหมือนน้ำซาวข้าวเพราะว่ามีมูกมาก