Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ (Health Care Financing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ
(Health Care Financing)
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข
( Process of funding health service )
เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและโดยมีเป้าหมายเป็น(Gold)
คือ สถานะสุขภาพของประชาชนที่ดีที่สุด
เป็าหมายของคลังสุขภาพ
ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
How to get enough revenue for health service delivery
จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ ากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
Setting up the system for managing the health care resources
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
Access and Coverage of health care services
หน่วยบริการสุขภาพ
แหล่งเงินจากภาครัฐ
งบประมาณภาครัฐ
สวัสดิการข้าราชการ
แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
เงินอื่นๆ
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ (ประกันชีวิต)
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน (Out of pocket)
ระบบบริการภาครัฐ
ระบบบริการภาคเอกชน
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก (Adverse selection) กรณี voluntary insurance
จริยธรรมการใช้บริการ (User moral hazard) โดยการใช้บริการมากเกินจำเป็น
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง risk selection กรณี voluntary insurance
ผู้ให้บริการ
จริยธรรมการให้บริการ (Provider moral hazard)
การให้บริการเกินความจำเป็น (Over-service)
การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น (Under-service)
ความไม่สมมาตรของข้อมูล (Asymmetric Information)
กรณีที่มีความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล กล่าวคือ ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดแต่ละฝ่ายมีนั้นไม่เท่ากัน
Moral hazard
ปัญหา moral hazard อธิบายง่ายๆ คือ หลังจากผู้เอาประกันท าสัญญาประกันแล้ว มีพฤติกรรมเปลี่ยนไป เพราะเกิดความรู้สึกว่า “ฉันจะทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันก็มาจ่าย” และ “ฉันต้องใช้ประกันให้คุ้มเพราะจ่ายเงินค่าเบี้ยประกันไปตั้งเยอะแล้ว”
Adverse selection
ปัญหา adverse selection กลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงสูง อีกกลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงต่ า และผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าตนอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงสูงหรือกลุ่มความเสี่ยงต่ำ แต่บริษัทประกันไม่ทราบ เพราะไม่สามารถประเมินความแตกต่างจากการดูภายนอกอย่างผิวเผินได้ บริษัทประกันจึงไม่สามารถแยกแยะว่าผู้เอาประกันเหล่านั้นมีความเสี่ยงสูงหรือต่ าที่จะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
ประเภทของการประกันสุขภาพ ( Type of health insurance)
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
(Tax-based healthinsurance) หรือ (Beveridge model)
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
(Compulsory health insurance) หรือ (Bismarck model)
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ (Voluntary health insurance)
รูปแบบการประกันสุขภาพในประเทศไทย
สวัสดิการรักษาพยาบาล และ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน การประกันภัยภายใต้ พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ (การประกันสุขภาพภาคบังคับ)
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า(๓๐ บาทรักษาทุกโรค)
ประกันกับบริษัทเอกชน (แบบสมัครใจ)
การจ่ายเงินให้สถานบริการ (Payment to provider)
จ่ายย้อนหลังตามบริการ (Retrospective reimbursement)
จ่ายเงินล่วงหน้าตามข้อตกลง (Prospective payment)
จ่ายเงินแบบผสม (Mixed payment)
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกและการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่ (adverse selection)
อัตราการคืนทุนต่ าในบัตรสุขภาพ (low cost recovery)
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน)
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ