Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ และหลอดเลือด, น.ส.สุชาดา…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด
(congenital heart disease)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา (left to right shunt)
Patent ductus arteriosus (PDA)
มีเลือดไปปอดมาก ซึ่งมีความผิดปกติ
หลอดเลือด ductus arteriosus ยังเปิดอยู่ภายหลัง
เด็กเกิด ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างหลอดเลือดแดงพัลโมนารี
หลอดเลือดเอออร์ต้าส่วนที่จะไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่าง (descending aorta)
สาเหตุ
การเกิดก่อนกำหนด
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ
การติดเชื้อ
การติดเชื้อหัดเยอรมันในช่วงการตั้ง
ครรภ์ 3 เดือนแรก
อาการและอาการแสดง
PDA ขนาดเล็กมักจะไม่มีอาการผิดปกติ
PDA ขนาดใหญ่
มักจะมาด้วยอาการของหัวใจซีกซ้ายวาย
โดยมีอาการหายใจเร็ว
เหงื่อออกมากเวลาดูดนม เหนื่อยหอบ
น้ำหนักขึ้นช้า
Ventricular septal defect (VSD)
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่าง เวนตริเคิลจึง
ทำให้เกิดทางติดต่อระหว่างเวนตริเคิลซ้ายและขวา
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม
ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต
ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย ๆ
Atrial septal defect (ASD)
มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่างเอเตรียม
เนื่องจากมีการสร้างผนังกั้นเอเตรียม ที่ไม่สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
มักจะไม่มีอาการแสดงหรืออาการที่ผิดปกติ
บางรายอาจจะมีการติดเชื้อใน
ระบบหายใจ
อาการอ่อนเพลียเหนื่อยง่ายเวลาออกแรงหรือออกกำลังกาย
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด (obstructive lesions)
Aortic stenosis (AS)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลซ้าย
อาการและอาการแสดง
ในพวกที่ลิ้นตีบมากอาจจะมีอาการอ่อนเพลียง่ายเวลาเล่นเจ็บหน้าอก
Pulmonary stenosis (PS)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
moderate PS และ severe PS ภาวะหัวใจวาย หรืออาการเขียวเล็กน้อย
มีอาการเหนื่อยง่าย หรือเจ็บแน่นหน้าอก
Coarctation of aorta (CoA)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการคอดหรือการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือดductus arteriosus มาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
อาการและอาการแสดง
หายใจแรงและเร็ว เหนื่อยหอบ
ดูดนมช้าเลี้ยงไม่โต จะตรวจพบชีพจรที่ขาทั้ง 2 ข้างเบากว่า
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
Transposition of the Great Arteries (TGA)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดมากซึ่งพบได้บ่อยที่สุด มีความผิดปกติ
มีการสลับที่กันของหลอดเลือด
แดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ
อาการและอาการแสดง
อาการเขียวมากตั้งแต่แรกเกิด ภายใน 2-3 วันแรกหลังเกิด
หอบเหนื่อย อาการของหัวใจวาย
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อย อาจมีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
Tetralogy of Fallot (TOF)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อยมีความผิดปกติ 4 อย่าง
การตีบของลิ้นพัลโมนารี (pulmonic stenosis)
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา (overriding aorta หรือ dextroposition of the aorta)
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา (right ventricular hypertrophy)
อาการและอาการแสดง
อาการเขียวทั่วร่างกาย (central cyanosis)
ภาวะหัวใจวาย
Pulmonic atresia (PA) ลิ้นพัลโมนารี
Tricuspid atresia (TA) ลิ้นไตรคัสปิดตัน
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก อาการเขียว และมีภาวะหัวใจวาย
Transposition of great arteries
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
(acquired heart disease)
การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ (Infective endocarditis)
การอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อบุหัวใจชั้นในสุด หรือเยื่อบุผิวภายในหัวใจ
สาเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
แบคทีเรีย เชื้อรา ริคเกทเซีย (rickettsia)
หรือไวรัส
แต่มักมีสาเหตุมาจากแบคทีเรีย โดยเฉพาะเชื้อ
Streptococcus viridans, Staphylococcus aureus
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ลักษณะไข้ต่ำ ๆ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดเมื่อย เหนื่อยง่าย
ภาวะซีด
เสียงฟู่ของหัวใจ (heart murmur)
การตายของสมอง
ม้ามโต กดไม่เจ็บ อาจพบตับโต
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ
ควรติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือดเป็นระยะ ๆ
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อที่ทำให้เกิด IE เช่น ฟัน ทางเดิน ปัสสาวะ
โดยโรคหัวใจที่เกิดภายหลังจะไม่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติของยีน
บนโครโมโซมของเด็กตั้งแต่แรกเกิด
โรคหัวใจรูห์มาติค
(Rheumatic Heart Disease)
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติค (rheumatic fever)
ซึ่งมีการติดเชื้อที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของอวัยวะต่าง ๆ ได้
สาเหตุ
ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น เกิดจากมีการรั่วไหลของเลือด
ทำให้มีปริมาณเลือดในเวนตริเคิลมากขึ้น
1.1 กลุ่มที่มีเลือดไหลลัดจากหัวใจซีกขวา
1.2 กลุ่มที่มีการรั่วของลิ้นหัวใจ
1.3 กลุ่มที่มีเลือดไปปอดมากขึ้น
ความผิดปกติของหัวใจที่ทำให้หัวใจทำงานมากขึ้น เนื่องจาก มีความดันในเวนตริเคิลสูงกว่าปกติเกิดจากการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิล
ความผิดปกติของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของหัวใจลดลง
จังหวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ ส่งผลให้ปริมาณเลือดไหลออกจากหัวใจลดลง
อาการและอาการแสดง
อาการของหัวใจซีกซ้ายวาย
หายใจเร็ว ปีกจมูกบาน หายใจ
ลำบาก หน้าอกบุ๋ม
มีการหดตัวของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจ
อาการของหัวใจซีกขวาวาย
หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง หน้า
บวม ตาบวม ตับโต บางรายอาจมีม้ามโต
ไข้รูห์มาติค (Rheumatic Fever)
โรคที่มีการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
หัวใจ เนื้อเยื่อของข้อ สมอง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และผิวหนัง
อาการและอาการแสดง
major criteria
subcutaneous nodules
Carditis
chorea หรือ sydenham’s chorea
erythema marginatum
minor criteria
polyarthralgia มีอาการปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ
ปวดท้อง รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอกซีดและน้ำหนักลด
มีไข้ต่ำ ๆ
กลุ่มอาการคาวาซากิ
(Kawasaki Disease
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็จเชีย
ที่กระตุ้นให้เด็กบางคนตอบสนองทางอิมมูนผิดปกติทำให้เกิดอาการขึ้น
พยาธิสรีรวิทยา
มีการอักเสบของผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่และหลอดเลือดแดงขนาดกลางอื่นๆ
มี Platelet thrombi อุดหลอดเลือดแดง
อาการและอาการแสดง
ไข้
ส่วนใหญ่จะเป็นไข้สูงเป็นพักๆ
ใช้เวลามีไข้ 5 วัน
แต่ในรายที่มีความผิดปกติของ
หลอดเลือดแดง Coronary ถ้าไม่ได้การรักษาที่เหมาะสม ไข้จะอยู่นานหลายสัปดาห์
การเปลี่ยนแปลงที่มือแดง เท้า ผื่น
ประมาณ 2 – 3
สัปดาห์หลังจากเริ่มมีไข้จะเห็นผิวหนังลอก
ประมาณ 4 – 6 สัปดาห์
หลังจากเริ่มมีไข้อาจเห็นรอยขีดเล็กๆตามแนวขวางของเล็บ ที่เรียกว่า Beau Line
ต่อมน้ำเหลืองที่โต
มักพบที่ anterior cervical triangle
มักเป็นข้างเดียว
ขนาดตามเกณฑ์การวินิจฉัยต้องมี
เส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 1.5 ซม.
ลักษณะค่อนข้างแข็ง
สังเกตบริเวณที่ต่อมน้ำเหลืองโต
ตาแดง
จะเป็นทั้ง 2 ข้าง
มักเห็นภายใน 2 - 4 วันแรก
นับจากเริ่มมีไข้
ไม่ค่อยมีขี้ตา และไม่ค่อยเจ็บ
ปากแดง
เห็นได้ชัดเจนตั้งแต่วันแรกๆของโรค
มีริมฝีปากแตก อาจมีเลือดออกด้วย
ลิ้นจะแดงและมี prominent papillae ที่เรียก
ว่า “Strawberry tongue”
น.ส.สุชาดา เปลี่ยนแก้ว เลขที่ 89 รหัสนักศึกษา 62111301092 ชั้นปีที่ 2 รุ่น 37