Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาโร คหัวใจและหลอดเลือด, นาย ธีภพ จ่ารุ่ง…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาโร
คหัวใจและหลอดเลือด
โรคที่เกิดมาแต่กำเนิด
ชนิดเขียว
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
. Transposition of the Great Arteries (TGA)
คือ มีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ ได้แก่ หลอดเลือดเอออร์ต้าและหลอดเลือดแดงพัลโมนารีโดยหลอดเลือดเอออร์ตัวออกจากเวนตริเคิลขวา และหลอดเลือดแดงพัลโมนารีออกจากเวนตริเคิลซ้าย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากสมองขาดเลือดไปเลี้ยงอย่างเฉียบพลัน
. ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจนได้ง่าย
. ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในร่างกายได้ เช่น หลอดเลือดฝอย โดยเฉพาะในหลอดเลือดฝอยที่สมอง เนื่องจากมีภาวะเลือดข้น
. ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดฝีในสมองได้ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือด ทำให้เลือดบางส่วนไม่ได้ส่งไปฟอกที่ปอด
เลือดเลี้ยงปอดน้อยอาจดเกิดภาวะขาดออกซิเจนเฉียบพลัน
Pulmonic atresia (PA) ลิ้นพัลโมนารี
Tricuspid atresia (TA) ลิ้นไตรคัสปิดตัน
Tetralogy of Fallot (TOF หรือ TF)
ความผิดปกติ 4 ข้อ
การตีบของลิ้นพัลโมนารี (pulmonic stenosis)
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา (overriding aorta หรือ dextroposition of the aorta)
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา (right ventricular hypertrophy)
อาการ
อาการเขียวทั่วร่างกาย (central cyanosis) มีประวัตินั่งยอง ๆ อาการเหนื่อย อาการเขียวมากขึ้นร่วมกับอาการหอบลึก
ภาวะหัวใจวาย มีปริมาณเลือดไหลลัดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวามาก จึงมีเลือดไปปอดมากขึ้น
ชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา (left to right shunt)
Ventricular septal defect (VSD)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่าง เวนตริเคิล เนื่องจากมีการสร้างผนังกั้นเวนตริเคิล (ventricular septum) ที่ไม่สมบูรณ์ จึงทำให้เกิดทางติดต่อระหว่างเวนตริเคิลซ้ายและขวา
Atrial septal defect (ASD)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีรูรั่วที่บริเวณผนังกั้นระหว่างเอเตรียม เนื่องจากมีการสร้างผนังกั้นเอเตรียม ที่ไม่สมบูรณ์
Patent ductus arteriosus (PDA)
หลอดเลือด ductus arteriosus ยังเปิดอยู่ภายหลังเด็กเกิด ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างหลอดเลือดแดงพัลโมนารี และหลอดเลือดเอออร์ต้าส่วนที่จะไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่าง (descending aorta) โดยทั่วไปหลอดเลือด ductus arteriosus จะฝ่อแข็งกลายเป็นพังผืด (ligament) ทำให้เกิดการปิดของหลอดเลือด ductus arteriosus ภายหลังเด็กเกิดได้ 1-4 สัปดาห์
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด
Aortic stenosis (AS)
มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลซ้าย ทำให้เวนตริเคิลซ้ายบีบตัวส่งเลือดแดงผ่านลิ้นเอออร์ติคที่ตีบไปเลี้ยงร่างกายได้ไม่สะดวกหรือได้น้อยลง
Pulmonary Stenosis (PS)
มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา ทำให้เวนตริเคิลขวาบีบตัวส่งเลือดดำผ่านลิ้นพัลโมนารีที่ตีบไปปอดได้ไม่สะดวกหรือได้น้อยลง
Coarctation of the Aorta (CoA)
มีการคอดหรือการตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือด ductus arteriosus มาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
ข้อวินิจงการพยาบาลฉัยทา
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ทำให้มีการไหลลัดของเลือด
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่าย การเคลื่อนไหวร่างกาย แขน ขา จึงมีน้อย หรือในเด็กเล็กบางรายที่มีอาการหายใจลำบาก
ผู้ป่วยอาจมีอาการเป็นลมหมดสติ เนื่องจากสมองได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ จากการที่มีเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
. บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่กำเนิดของบุตร
. ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ปอด เนื่องจากมีเลือดไปปอดมาก
. ผู้ป่วยมีโอกาสเสี่ยงต่อการมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย หรือต่ำกว่าเกณฑ์ เนื่องจากดูดนม/รับประทานอาหารได้น้อย
. เนื้อเยื่อของร่างกายมีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ เนื่องจากประสิทธิการทำงานของหัวใจลดลง
โรคที่เืดในภายหลัง
การพยาบาลเด็กที่มีภาวะหัวใจวาย
สาเหตุ
หัวใจทำงานหนักมากขึนเนืองจากมีความดันในVentricleสูง
กว่าปกติจากการอุดกันทางออกของVentricle
ผิดปกติที่กล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้การทำงานของหัวใจลดลง
จังหวะการเต้นผิดปกติ ทำให้เลือดไหลออกน้อยลง
หัวใจทำงานหนักมากขึ้นเนื่องจากเลือดในหั
วใจเพิ่ม ขึ้นมากจากการรั่ว ไหล
กลุ่มเลือดไหลลัดจากหัวใจทางขวา
กลุ่มรัว ของลิน หัวใจ
กลุ่มเลือดไปเลียงทีปอดมาก
อาการ
ขวาวาย
บวม(ตา แขน หน้า), ตับม้ามโต, หลอดเลือดดำที่คอโป่งพอง อึดอัดแน่นท้อง
ซ้ายวาย
น้ำคั่งปอด,เลือดคั่งปอด,หน้าอกบุ๋ม,หายใจลำบาก ฟังเสียงได้ยิน crepitation
การพยาบาล
เสี่ยงต่อการได้รับสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากอัตราการเผาผลาญสูงจากการที่หัวใจทำงานลดลงและอัตราการเต้นและอัตราการหายใจเพิ่ม
4.ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า
2.ภาวะน้ำเกินเนื่องจากมีการคั่ง หรือสะสมของน้ำในร่างกายเพิ่ม
เติม ทำให้หัวใจทำงานหนัก
มีโอกาสเกิดการติเชื้อทางเดินหายใจเนื่องจากมีการคั่ง เลือดที่ปอดการแลกเปลี่ยนออกซิเจนลดลง ทำให้การทำงานของปอดลดลง
1.เลือดที่ไปเลี้ยงร่างกายลดลง ผลมาจากหัวใจผิดปกติ
6.มีโอกาสเกิดภาวะเป็นพิษจากดิจิตาลิส
Ianoxin การรักษา
เพิ่แรบีบของกล้ามเนื้อหัวใจ ทำให้เต้นช้า อัตราการเต้นลด ทำให้Cardiac output เพิ่ม ทำให้ลดการคั่งในหลอดเลือดฝอย
ทำให้มีการขับปัสสาวะมากขึ้น ลดแรงต้านหลอดเลือด
ทำให้หัวใจไปเลี่ยงส่วนต่างๆได้มากขึ้น
Kawasaki Disease(คาวาซากิ)
มีการอับเสบของผนังหลอดเลือดCoronaryและหลอดเลือดแดง
ขนาดกลางและมีPlatelet thrombi
อาการ
การเปลี่ยนแปลงที่มือและเท้า เป็นลักษณะที่ไม่ค่อยเห็น 2-3 wk
หลังจากไข้จะเห็นผิวหนังลอก เริ่ม ลอกเล็บมือ เท้า 4-6
wkเริ่ม มีไข้เห็นรอยขีด ตามแนวที่เรียกว่า Beau Lin
ไข้ ตาแดง ปากแดง เท้าผื่น ต่อมน้ำเหลืองที่ไต อาการ
ไข้ ส่วนใหญ่ไข้สูงพักๆ ไข้ลดมักจะไม่ลดเป็นปกติ
ตาแดง มักเห็นภายใน2-4 วันแรก
ริมฝีปากแดงและแห้ง
เห็นชัดๆตังแต่วันแรกของโรค
การพยาบาล :
ดูการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือดเ
สังเกตการเต้นของหัวใจ
ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา
วัดPRโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ขณะให้gamma globulin สังเกตดูการแพ้ ถ้าแพ้หยุดทันที
กระตุ้นให้ดื่มน้ำเพิ่ม ไม่ต้องห่มผ้าและเช็ดตัวลดไข้ วัดปรอททุก 4 hr.
ดูผลข้างเคียงของยา
บันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ24 hr. ระวังการขาดน้ำ
อาหารไม่เพียงพอ ดูแลความอยากอาหาร
จัดอาหารให้น่าทานและสะดวกสบายในการทาน ลดเค็ม
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูการบวมของหัวใจวาย
ดูแลลความสะอาดของช่องปาก
ระวังการติดเชือ รักษาความสะอาด
ลดความไม่สะดวกสบาย
Infective endocarditis(IE)
ติดเชื้อที่เยื้อบุหัวใจ
อาการ
เพลีย เหนื่อยง่าย เสียงหัวใจเป็นMurmur ม้ามโตกดไม่เจ็บ
การรักษา
ติดตามการเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือด
ให้ยาปฏิชีวนะ
มักเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย
(Streptococcus viridans, Staphylococcus aureus)
การพยาบาล
1.มีการติดที่เยื้อบุทางเดินหายใจ
ดูแลให้Antibioticทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้พักผ่อนเพียงพอเพื่อลดการทำงานหัวใจ
ทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบ 5 หมู่ อาหารอ่อนย่อยง่าย
บันทึกV/S ทุก 4 hr.
สังเกตอาการข้างเคียงAntibiotic
อาจเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำได้
ดูฉลความสะอาดและพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำให้พ่อแม่หรือผู้ปวยดูแลช่องปาก
ทานยาAntibioticเพื่อป้องกันก่อนทำหัตถการ
สังเกตอาการติดเชื้อ
Rheumatic Heart Disease (RHD)
โรคหัวใจรูห์มาติค
Rheumatic Fever ไข้รูห์มาติค
อาการ
major criteria
หัวใจอักเสบ(Carditis) ปวดตามข้อ(polyarthritis) ผื่นแดง(erythema marginatum
minor criteria
ไข้ต่ำ ปวดตามข้อ เคยเป็นไขเรูห์มาติค
การรักษา
ให้ยาAntibioticกำจัดเชือ
ยาต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ
นอนพัก อาการหะวใจวายให้พักจนกว่าจะควบคุมได้แล้วค่อยๆเพิม การเคลือนไหว
ให้ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวายให้การรักษาโดยให้ยา Digitalis
สาเหตุ
เกิดอักเสบที่เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
มักเกิดตามหลังคออักเสบด้วยเชื้อ
β-hemolytic streptococcus group
การพยาบาล
มีการอักเสบของข้อเนื่องจากมีการติดเชื้อ
β-hemolytic Streptococcus group A
เกิดการกลับเป็นซ้ำของRheumatic Feverโดยมีการติดเชื้อ
β-hemolytic Streptococcus group A
มีการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจเนื่องจากติดเชื้อ
β-hemolytic Streptococcus group A
ข้อวินิจฉัย
1.เสี่ยงต่อการติดเชื่อβ-hemolytic Streptococcus group
Aซ้ำและการติดเชื่อเยื้อบุหัวใจจากโรคหัวใจรูห์มาติคมาก่อน
เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายออกซิเจนเนื่องจากมีภา
วะหัวใจวาย เพราะมีการอักเสบของหัวใจและลิ้นหัวใจ
มีความเครียดต่อการถูกจำกัดให้พักอยู่บนเตียงและอยู่โรงพยาบาลนาน
พ่อแม่กังวลต่อการเจ็บป่วยของลูกและดูแลเมื่อลูกกลับบ้าน
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติคซึ้งมีการติดเชื้อ อาจทำให้เกิดการอักเสบของหัวใจ
ส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจวาย ตลอดถึงรั่ว หรือตีบได้
นาย ธีภพ จ่ารุ่ง ชั้นปี 2 เงขที่ 33 รหัส 62111301034