Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ และหลอดเลือด, น.ส…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด (congenital heart disease)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียว
กลุ่มที่มีการไหลลัดของเลือดจากหัวใจซีกซ้ายไปซีกขวา(left to right shunt)
Atrial septal defect (ASD)
เนื่องจากมีการสร้างผนังกั้นเอเตรียม ที่ไม่
สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง ทั้งในเด็กเล็กและเด็กโต
มักจะไม่มีอาการ
แสดงหรืออาการที่ผิดปกติ
บางรายอาจจะมีการติดเชื้อในระบบหายใจ หรือมีการเจริญเติบโตช้า
อาการอ่อนเพลีย
เหนื่อยง่ายเวลาออกแรงหรือออกกำลังกาย
Patent ductus arteriosus (PDA)
คือ
ซึ่งมีความผิดปกติ คือ หลอดเลือด ductus arteriosusยังเปิดอยู่ภายหลังเด็กเกิด
ทำให้เกิดการติดต่อระหว่างหลอดเลือดแดงพัลโมนารี
และหลอดเลือดเอออร์ต้าส่วนที่จะไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่าง(descending aorta)
โดยทั่วไปหลอดเลือด ductus arteriosus จะ
ฝ่อแข็งกลายเป็นพังผืด (ligament)
ทำให้เกิดการปิดของหลอดเลือด ductus arteriosus ภายหลังเด็กเกิดได้ 1-4 สัปดาห์
สาเหตุ
การเกิดก่อนกำหนด ทำให้หลอดเลือด ductus arteriosusในทารกที่เกิด
ภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ ส่งผลให้หลอดเลือด ductusarteriosus ยังเปิดอยู่หลังคลอด
การติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อหัดเยอรมันในช่วงการตั้ง
ครรภ์ 3 เดือนแรก
อาการและอาการแสดง
PDA ขนาดเล็กมักจะไม่มีอาการผิดปกติ
PDA ขนาดใหญ่
มักจะมาด้วยอาการของหัวใจซีกซ้ายวาย
โดยมีอาการหายใจเร็ว เหงื่อออกมากเวลาดูดนม เหนื่อยหอบ น้ำหนักขึ้นช้า
Ventricular septal defect (VSD)
เนื่องจากมีการสร้างผนังกั้นเวนตริเคิล
(ventricular septum) ที่ไม่สมบูรณ์ จึงทำให้เกิดทางติดต่อระหว่างเวนตริเคิลซ้ายและขวา
อาการและอาการแสดง
มีอาการเหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม
มีเหงื่อออกมาก
ตัวเล็กหรือเลี้ยงไม่โต พัฒนาการอาจจะปกติหรือล่าช้า
ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย ๆ
กลุ่มที่มีการอุดกั้นการไหลของเลือด (obstructivelesions)
Pulmonary stenosis (PS)
มีการตีบของลิ้นพัลโมนารี หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลขวา ทำให้เวนตริเคิลขวาบีบตัวส่งเลือดดำผ่านลิ้นพัลโมนารีที่ตีบไปปอดได้ไม่สะดวกหรือได้น้อยลง
อาการและอาการแสดง
moderate PS และ severe PS ภาวะหัวใจวาย หรืออาการเขียวเล็กน้อย
มีอาการเหนื่อยง่าย หรือเจ็บแน่นหน้าอก และ
จะเป็นมากขึ้นเวลาออกกำลังกาย
บางรายอาจจะมีอาการเป็น
ลมหมดสติ
Coarctation of aorta (CoA)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดไม่เขียวที่มีการคอดหรือการ
ตีบแคบที่หลอดเลือดเอออร์ต้าตรงบริเวณหลอดเลือดductus arteriosusมาเชื่อมกับหลอดเลือดเอออร์ต้า
ทำให้เลือดไหลจากหลอดเลือดเอออร์ต้าไปเลี้ยงร่างกายส่วนบนและลงสู่ส่วนที่ไปเลี้ยงร่างกายส่วนล่างได้ไม่สะดวก จึงพบว่า ความดันโลหิตของแขนสูงกว่าขา
อาการและอาการแสดง
หายใจแรงและเร็ว
เหนื่อยหอบ เหงื่อออกมาก
ดูดนมช้าเลี้ยงไม่โต
จะตรวจพบชีพจรที่ขาทั้ง 2 ข้างเบากว่า
Aortic stenosis (AS)
มีการตีบของลิ้นเอออร์ติค หรือมีการอุดกั้นของทางออกของเวนตริเคิลซ้ายทำให้เวนตริเคิลซ้ายบีบตัวส่งเลือดแดงผ่านลิ้นเอออร์ติคที่ตีบไปเลี้ยงร่างกายได้ไม่สะดวกหรือได้น้อยลง
อาการและอาการแสดง
ในพวกที่ลิ้นตีบมากอาจจะมีอาการอ่อนเพลียง่ายเวลาเล่น
เจ็บหน้าอก
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียว
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก อาการเขียว และมีภาวะหัวใจวาย
Transposition of great arteries
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อย อาจมีภาวะสมองขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลัน
Pulmonic atresia (PA) ลิ้นพัลโมนารี
Tricuspid atresia (TA) ลิ้นไตรคัสปิดตัน
Tetralogy of Fallot (TOF)
โรคหัวใจแต่กำเนิดชนิดเขียวที่มีเลือดไปปอดน้อยมีความผิดปกติ 4อย่าง
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา (overridingaorta หรือ dextroposition of the aorta)
1.การตีบของลิ้นพัลโมนารี (pulmonic stenosis)
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา (right ventricular hypertrophy)
อาการและอาการแสดง
1.อาการเขียวทั่วร่างกาย (central cyanosis) มีประวัตินั่ง
ยอง ๆ อาการเหนื่อยอาการเขียวมากขึ้นร่วมกับอาการหอบ
ลึก
ภาวะหัวใจวาย มีปริมาณเลือดไหลลัดจากหัวใจซีกซ้าย
ไปซีกขวามาก จึงมีเลือดไปปอดมากขึ้น
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง (acquired heart disease)
โรคหัวใจรูห์มาติคrheumatic heart disease (RHD)
การติดเชื้อที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของอวัยวะต่าง ๆได้ โดยเฉพาะทำให้เกิดการอักเสบของหัวใจ
ส่งผลให้เกิดภาวะหัวใจ
วาย ตลอดจนลิ้นหัวใจรั่วหรือตีบได้
ไข้รูห์มาติค หมายถึง
โรคที่มีการอักเสบของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เช่น
หัวใจ เนื้อเยื่อของข้อ สมอง เนื้อเยื่อใต้ผิวหนัง และผิวหนัง
เป็นผลจาก
autoimmune reaction
มักเกิดตามหลังคออักเสบเนื่องจากเชื้อ
β-hemolytic streptococcus group A โรคนี้อาจ
ทำให้เกิดภาวะหัวใจวายและลิ้นหัวใจมักถูกทำลาย
อาการและอาการแสดง
major criteria
chorea หรือ sydenham’s chorea
subcutaneous nodules
polyarthritis
erythema marginatum
Carditis
minor criteria
polyarthralgia มีอาการปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ
เลือดกำเดาไหล
มีไข้ต่ำ ๆ
ปวดท้อง รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอกซีดและน้ำหนักลด
มีประวัติเคยเป็นไข้รูห์มาติค
การรักษา
ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจวาย ให้การรักษาโดยให้ยา digitalis เช่น digoxinยาขับปัสสาวะ ยาลด afterload
ได้แก่ ยาขยายหลอดเลือดแดง รวมทั้งยา กลุ่ม
angiotensin converting enzme inhibitor
ให้ยาสำหรับต้านการอักเสบของหัวใจและข้อ ได้แก่ salicylate และ steroid
ผู้ป่วยที่มี carditis ที่มีหัวใจโตหรือมีอาการหัวใจวาย ควรให้ยาเพรดนิโซโลน2 มิลลิกรัม
ผู้ป่วยที่มี arthritis carditis ที่ไม่มีหัวใจโต ให้ยา salicylates
ให้นอนพัก โดยทั่วไปผู้ป่วยที่มี carditis และอาการหัวใจวาย ให้พักจนกว่าจะควบคุมภาวะหัวใจวายได้ ต่อมาค่อย ๆ เพิ่มการเคลื่อนไหวมากขึ้นในเวลา 3 เดือน
ให้ยาปฏิชีวนะสำหรับกำจัดเชื้อสเตร็ปโตคอคคัสกลุ่มเอ
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย มีไข้ carditis, polyarthritis, chorea, erythemamarginatum, subcutaneous nodule
การประเมินภาวะจิตสังคม ความกังวลเกี่ยวกับอาการปวดข้อ หรืออาการหัวใจเต้นเร็ว
การซักประวัติ ติดเชื้อในระบบหายใจ เช่น เป็นหวัด เจ็บคอ
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
antistreptolysin O (ASO) unit
ค่า ESR สูง
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก พบหัวใจโตกว่าปกติและมีลักษณะการคั่งของเลือดในปอด
ภาพถ่ายรังสีของข้อ จะพบมีน้ำในข้อ
throat swab culture ให้ผลบวก
การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจความถี่สูง มีน้ำในเยื่อหุ้มหัวใจ
กลุ่มอาการคาวาซากิKawasaki disease (KD)
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็จเชีย และอื่นๆ
ที่กระตุ้นให้เด็กบางคนตอบสนองทางอิมมูนผิดปกติทำให้เกิดอาการขึ้น
อาการและอาการแสดง
ตาแดง
จะเป็นทั้ง 2 ข้าง มักเห็นภายใน 2 - 4 วันแรก
นับจากเริ่มมีไข้
ปากแดง
ลิ้นจะแดงและมี prominent papillae ที่เรียก
ว่า “Strawberry tongue”
ไข้
ส่วนใหญ่จะเป็นไข้สูงเป็นพักๆ โดยช่วงที่ไข้ลดมัก
จะไม่ลดลงจนเป็นปกติ ตามเกณฑ์การวินิจฉัยโดยทั่วไป
ใช้เวลามีไข้ 5 วัน
แต่ในรายที่มีความผิดปกติของ
หลอดเลือดแดง Coronary
ถ้าไม่ได้การรักษาที่เหมาะสม ไข้
จะอยู่นานหลายสัปดาห์
การเปลี่ยนแปลงที่มือแดง เท้า ผื่น
และต่อมน้ำเหลืองที่โต
เป็นลักษณะที่ไม่ค่อยเห็น
ในโรคอื่นๆ มือ เท้า จะบวม แดง
ประมาณ 2 – 3 สัปดาห์หลังจากเริ่มมีไข้
จะเห็นผิวหนังลอก
โดยเริ่มลอกบริเวณรอบๆเล็บมือ เล็บเท้า
อาจลามมาจนลอกทั้งฝ่ามือ ฝ่าเท้า ประมาณ 4 – 6 สัปดาห์
หลังจากเริ่มมีไข้อาจเห็นรอยขีดเล็กๆตามแนวขวางของเล็บที่เรียกว่า Beau Line
การพยาบาล
1.ประเมินการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือดเกี่ยวกับการมีอาการของหัวใจอักเสบ
2.ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา เป็นสิ่งสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในระยะเฉียบพลัน
วัดชีพจร โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะให้ gamma globulin ควรสังเกตดูปฏิกิริยาของการแพ้
ถ้าแพ้ให้หยุดทันที การมีไข้สูงและไม่ลดลงด้วยยา
ให้การดูแลตามอาการ กระตุ้นให้ดื่มน้ำเพิ่ม ใส่เสื้อผ้าหนาๆ ไม่ต้องห่มผ้า
เช็ดตัวสลดไข้ให้ในระยะเฉียบพลัน ควรวัดปรอททุก 4 ชั่วโมง
ดูจังหวะการเต้นของชีพจรอาจผิดปกติ
ดูปฏิกิริยาข้างเคียงของยา เช่น แอสไพรินจะมีเลือดออกและกัดกระเพาะอาหาร
ตวงและบันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ 24 ชั่วโมง ระวังการขาดน้ำดูอาการของหัวใจวาย ปัสสาวะลดลง
อาหารไม่เพียงพอทั้งทางปากและหลอดเลือดดำ ป้องกันการขาดน้ำระยะเฉียบพลัน ดูแลความอยากอาหาร จัดอาหารให้น่ารับประทาน
ชั่งน้ำหนักทุกวัน ดูอาการบวมของภาวะหัวใจวาย
ระวังการติดเชื้อของผิวหนัง ผิวหนังจะเป็นผื่นหรือบวม ควรรักษาความสะอาด ไม่อับชื้น ไม่มีสิ่งรบกวนจากเสื้อผ้าทั้งหลาย ไม่ใส่เสื้อผ้าที่ร้อน
จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ ให้เด็กบางรายที่กระสับกระส่ายได้พักผ่อนเพียงพอ
ลดความไม่สุขสบาย มือและเท้าบวมจะเจ็บปวดเนื่องจากแรงกดบนเนื้อเยื่อโดยสารคัดหลั่งของการอักเสบ
ลดความกลัวและวิตกกังวล เพราะมีผลต่อหัวใจได้ พยาบาลให้ข้อมูลกับเด็กว่าอาการจะสามารถดีขึ้นได้
12.การดูแลสุขภาพที่บ้าน ต้องดูแลเรื่องหัวใจและหลอดเลือดต่อไป
การติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจinfective endocarditis (IE)
การอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อบุหัวใจชั้นในสุด หรือเยื่อบุผิวภายในหัวใจ หรือลิ้นหัวใจ หรือเนื้อเยื่อข้างเคียง นอกจากนี้อาจพบในลิ้นหัวใจเทียม ผนัง
หัวใจที่ผิดปกติ
อาการและอาการแสดง
เสียงฟู่ของหัวใจ (heart murmur)
การตายของสมอง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ปวดเมื่อย เหนื่อยง่าย
ม้ามโต กดไม่เจ็บ อาจพบตับโต
มีไข้ ลักษณะไข้ต่ำ ๆ
ภาวะซีด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ
ควรติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือดเป็นระยะ
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อที่ทำให้เกิด IE เช่น ฟัน ทางเดินปัสสาวะ
การป้องกัน
เป็นการให้ยาปฏิชีวนะก่อนและหรือหลังการทำหัตถการที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสโลหิตเพิ่มขึ้น
เช่น
การให้สารน้ำทางหลอดดำ
การใส่สายสวนปัสสาวะ
การะเจาะ
เลือด
การตัดต่อม
ทอนซิล
การทำฟัน
การพยาบาล
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ESR สูง เม็ดเลือดขาวสูง ปัสสาวะมีเลือดปน
การตรวจร่างกาย ตรวจร่างกายพบเสียงฟู่ของหัวใจ
การประเมินภาวะจิตสังคม
การซักประวัติ ควรซักประวัติเกี่ยวกับแหล่งของการติดเชื้อ อาการและอาการแสดง
เช่น มีไข้ต่ำ ๆ เป็นช่วง ๆ โดยไม่ทราบสาเหตุ
อ่อนเพลีย
เบื่ออาหาร ความรู้สึกไม่สบาย
น.ส.มานิตตาแสงจันทร์ 62111301072 เลขที่ 69 ปี 2 รุ่น 37