Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคของระบบต่อมไร้ท่อ - Coggle Diagram
โรคของระบบต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
-
-
-
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid)
-
ประกอบด้วยเซลล์ 2 ชนิด
1. Follicular cells เป็น simple cuboidal epithelium (ส่วนใหญ่) สร้างและหลั่ง iodine-containing hormone T4 (thyroxine หรือ tetraiodothyronine) และT3 triiodothyronine : ทำหน้าที่จับไอโอดีนจากอาหารที่รับประทานเข้าไป แล้วนำไปรวมกับกรดอะสิโน Tyrosine เพื่อสร้างไทรอยด์ฮอร์โมน triiodothyronine (T3) และ thyroxine (T4)
-
ต่อมเพศ (Gonads)
เพศชาย
testis มีกลุ่มเซลล์ที่สร้างออร์โมนเรียกว่า Leydig cell ที่จะควบคุมการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธุ์ และควบคุมลักษณะชั้นที่สองของเพศชาย*
-
-
-
Hypothalamus
-
เป็นศูนย์กลางระบบประสาทอัตโนมัติ ส่งผ่านระบบประสาท sympathetic ตรงไปควบคุมที่ต่อมไร้ท่อใน adrenal medulla ให้หลั่งฮอร์โมน
-
-
ความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
Parathyroid gland
-
Hypoparathyroidism
-
การทดสอบการขาดแคลเซียม
ใช้เครื่องวัดความดันรัดแขนจนเกิน Systolic pressure เพื่อบีบเส้นเลือดให้ตีบกล้ามเนื้อจะขาดแคลเซียมไปเลี้ยง
-
-
-
gonad gland
-
-
Oxytocin hormone
หน้าที่
-
กระตุ้นการหลั่งน้ำนมทำให้กล้ามเนื้อของต่อมน้ำนมบีบตัวให้หลั่งน้ำนมออกมา เมื่อน้ำนมถูกสร้างขึ้นจะไปเก็บไว้ในถุงน้ำนม
-
LH
หน้าที่
ทำหน้าที่ในการตกไข่ เมื่อวัยรุ่นหญิงอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ LH ฮอร์โมนจะทำงานส่งผลให้เกิดการตกไข่และเป็นประจำเดือน
-
FSH
หน้าที่
ทำหน้าที่ในการเจริญเจิบโตของไข่ในเพศหญิง เมื่อถึงจุดที่วัยรุ่นอยู่ในวัยเจริญพันธุ์ระดับของ FSH จะสูงขึ้นเพื่อผลิตและมีผลต่อการเจริญของไข่
-
Hypothalamus
-
Oxytocin
ในกรณีหลังคลอด ถ้ามีฮอร์โมนไม่เพียงพอ อาจทำให้มดลูกหดรัดตัวไม่ดีพอที่จะไปบีบเส้นเลือดบริเวณที่รกลอกตัวให้เลือดไหลน้อยลง จะทำให้ผู้คลอดเสียเลือดมากจนถึงแก่ชีวิตได้
ในการคลอดถ้าฮอร์โมน Oxytocin ที่หลั่งตามธรรมชาติไม่เพียงพอ จะทำให้การคลอดล่าช้า แพทย์จะให้ Oxytocin สังเคราะห์เพื่อกระตุ้นให้ปากมดลูกถ่างขยายได้ดีขึ้น
เมื่อให้ก่ผู้คลอดแล้ว ต้องมีการดูแลอย่างใกล้ชิด เพราะอาจทำให้มดลูกแตก หรือทารกขาดออกซิเจนในครรภ์มารดาจากการที่มดลูกถูกกระตุ้นให้มีการหดรัดตัวมากเกินไป
-
Thyroid gland
Hyperthyroidism
-
Exophthalmos ตาโปน : เกิดจากมีการบวมหรือมีก้อนเนื้อในเบ้าตา: ดันให้ลูกตาโปนออกมาทางด้านหน้า โดยตาโปนอาจเกิดขึ้นข้างเดียวหรือทั้ง 2 ข้างก็ได้(แต่ละข้างมักโปนไม่เท่ากัน)
Causes : Graves’ disease (ภาวะที่มีภูมิต้านทานไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์ โมนออกมามาก) Toxic multinodular goiter เกิดจากก้อนของต่อมไทรอยด์สร้างไทรอยด์ฮอร์โมนออกมาอย่างต่อเนื่องด้วยตัวเองโดยไม่ขึ้นกับระดับการกระตุ้นของฮอร์โมนTSH
-
-
Hypothyroidsm
การผ่าตัดต่อมไทรอยด์ การกลืนแร่รังสีไอโอดีน (I131)ในการรักษา โรคต่อมไทรอยด์เป็นพษิ หรือการรักษาโรคมะเร็งต่อมไทรอยด์ ไม่มีเซลล์ต่อมไทรอยด์แต่กำเนิด หรือ เซลล์ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนไทรอยด์ได้น้อยแต่กำเนิด (Congenital hypothyroid)
-
-
-