Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปบทที่12 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด,…
สรุปบทที่12 การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มโรคหัวใจแต่กำเนิด
แบ่งออกเป็น
ชนิดไม่เขียว
left to right shunt
ได้แก่
Ventricular septal defect
คือ
มีรูรั่วบริเวณผนัง
ventricular
เนื่องจาก
ผนังไม่สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่ายโดยเฉพาะเวลาดูดนม
เหงื่อออกมาก
เลี้ยงไม่โต
ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย
Atrial Septal Decfect
คือ
มีรูรั่วบริเวณผนัง
atrium
เนื่องจากlสร้าง
ผนังไม่สมบูรณ์
อาการและอาการแสดง
มักจะไม่มีอาการแสดงหรืออาการที่ผิดปกติ
บางรายอาจติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
โตช้า เหนื่อยง่ายตอนออกแรง
Patent Ductus Arteriosus
คือ
มีเลือดไปปอดมาก
หลอดเลือด
ductus arteriosus ยังเปิดอยู่
ภายหลังเด็กเกิด
สาเหตุ
เกิดก่อนกำหนด
ductus arteriosus หดตัวตอบสนองต่อความเข้มข้นของ O2 ที่เหลืออยู่ในกระแสเลือดได้ไม่ดี
ภาวะ O2 ในเลือดต่ำ
ส่งผลให้หลอดเลือด
ductus arteriosus ยังเปิดอยู่หลังคลอด
การติดเชื้อ
เช่น การติดเชื้อหัดเยอรมันในช่วงการตั้งครรภ์ 3 เดือนแรก
อาการและอาการแสดง
PDA ขนาด
เล็ก
ไม่มีอาการผิด
ปกติ
PDA ขนาด
ใหญ่
หัวใจซีกซ้ายวาย
หายใจเข้าเร็ว
เหงื่อออกเวลาดูดนม
obstructive lesions
ได้แก่
Aortic stenosis
คือ
มีการ
ตีบที่ลิ้น aortic
/ มีการตีบที่ LA ทำให้ VA บีบตัว
ส่งเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ไม่ดี
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลียงาน เจ็บหน้าอกขณะเล่น
Pulmonary Stenosis
คือ
มีการ
ตีบที่ลิ้น Pulmonary
/มีการอุดกั้นที่ทางของ RV ทำให้
ส่งเลือดไปปอดได้ไม่ดี
อาการและอาการแสดง
เหนื่อยง่าย เจ็บแน่นหน้าอก เ
ป็นมากเวลาออกกำลังกาย
Coarctation of the Aorta
คือ
มีการคอดหรือการตีบแคบของ Aorta
บริเวณ ตีบแคบที่หลอดเลือด ductus arteriosus
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็วแรง หอบเหน่อย ดูดนมช้า
P ที่ขาทั้ง2ข้างเบา
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
โดย
การซักประวัติ
ดูดนมแล้วเหนื่อย โตช้า เหนื่อยงานเวลาออกแรง ติดเชื้อในระบบหายใจได้บ่อย
การตรวจร่างกาย
อาการเขียว หายใจเร็ว หายใจลำบาก อาการเจ็บหน้าอก เป็นลมหมดสติ
การประเมินภาวะจิตสังคม
พ่อแม่มักวิตกกังวล
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
เนื้อเยื่อของร่างกายมีโอกาสได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากประสิทธิการทำงานของหัวใจลดลง
Pt.อาจมีอาการเป็นลมหมดสติ เนื่องจากสมองได้รับO2 ไม่เพียงพอ จากการที่มีเลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ
Pt.เสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ปอด เนื่องจากมีเลือดไปปอดมาก
Pt.มีโอกาสเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดที่ทำให้มีการไหลลัดของเลือด
Pt.มีโอกาสเสี่ยงต่อการมีการเจริญเติบโตที่ไม่สมวัย หรือต่ำกว่าเกณฑ์ เนื่องจากดูดนม/รับประทานอาหารได้น้อย
Pt.มีโอกาสเกิดพัฒนาการล่าช้า เนื่องจากผู้ป่วยมีอาการเหนื่อยง่ายการเคลื่อนไหวร่างกาย แขน ขา จึงมีน้อย หรือในเด็กเล็กบางรายที่มีอาการหายใจลำบาก
บิดามารดามีความวิตกกังวลเกี่ยวกับความผิดปกติของหัวใจและหลอดเลือดตั้งแต่กำเนิดของบุตร
ชนิดเขียว
แบ่งเป็น
กลุ่มที่มีที่มีเลือดไปปอดน้อย
อาจมีภาวะสมองขาดO2อย่างเฉียบพลัน
ได้แก่
Tetralogy of Fallot
ความผิดปกติ
การตีบของลิ้นพัลโมนารี
ผนังระหว่างเวนตริเคิลมีรูรั่ว (VSD) ขนาดใหญ่
ตำแหน่งของลิ้นเอออร์ติคเลื่อนไปทางด้านขวา
มีการหนาตัวของเวนตริเคิลขวา
อาการและอาการแสดง
อาการเขียวทั่วร่างกาย
ภาวะหัวใจวาย
Pulmonic atresia
Tricuspid atresia
กลุ่มที่มีอาการเขียวที่มีเลือดไปปอดมาก
อาการเขียว และมีภาวะหัวใจวาย
Transposition of the Great Arteries
คือ
มีการสลับที่กันของหลอดเลือดแดงใหญ่ที่ออกจากหัวใจ ได้แก่ PA และ AO
อาการและอาการแสดง
เขียวตั้งแต่แรกเกิด หลังคลอด2-3วันแรกเหนื่อยหอบ
ในรายที่มี VSD ร่วมด้วย มีอาการ เหนื่อย อาการของหัวใจวาย
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
โดย
ซักประวัติ
มีอาการเขียวเป็นพัก ๆ และหายใจหอบลึก หอบเหนื่อยจนเป็นลมหมดสติ
มีประวัติชอบนั่งยอง ๆ เวลารู้สึกเหนื่อย
มีอาการปวดศีรษะ เนื่องจากภาวะ cerebral hypoxemia
ตรวจร่างกาย
อาการเขียวคล้ำทั่วร่างกาย นิ้วมือนิ้วเท้าปุ้ม ตาขาวแดง
ภาวะเลือดข้น มีความเข้มข้นของออกซิเจนลดลง
ท่านั่งยอง ๆ ฝีในสมอง ภาวะสมองขาดO2 อย่างเฉียบพลัน
ประเมินภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวลของPt.และบิดามารดาเกี่ยว
ข้อวินิจฉัย
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองขาดออกซิเจนได้ง่าย
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดการอุดตันของหลอดเลือดฝอยในร่างกายได้
ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดฝีในสมองได้ เนื่องจากมีความผิดปกติของหัวใจ
และหลอดเลือด ทำให้เลือดบางส่วนไม่ได้ส่งไปฟอกที่ปอด
กลุ่มโรคหัวใจที่เกิดภายหลัง
แบ่งออกเป็น
Infective endocarditis
คือ
การอักเสบซึ่งเกิดจากการติดเชื้อของเยื่อบุหัวใจชั้นในสุด
สาเหตุ
เชื้อราริคเกทเซีย ไวรัส
แบคทีเรีย โดยเฉพาะ Streptococcus viridans, Staphylococcus aureus
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำ อ่อนเพลีย น้ำหนักลด
มีเสียง heart murmur ภาวะซีด
ม้ามโต กดไม่เจ็บ อาจพบตับโต
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะในขนาดสูงทางหลอดเลือดดำ
ควรติดตามเจาะเลือดส่งเพาะเชื้อในเลือดเป็นระยะ
ตรวจสอบหาแหล่งของการติดเชื้อที่ทำให้เกิด IE
การป้องกัน
ให้ยาปฏิชีวนะก่อนและหลังการทำหัตถการที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อในกระแสโลหิตเพิ่มขึ้น
การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
โดย
การซักประวัติ
ซักประวัติเกี่ยวกับแหล่งของการติดเชื้อ อาการและอาการแสดง
การตรวจร่างกาย ตรวจร่างกายพบเสียงฟู่ของหัวใจ
การประเมินภาวะจิตสังคม
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ESR สูง เม็ดเลือดขาวสูง ปัสสาวะมีเลือดปน
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
มีการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจ
อาจเกิดการติดเชื้อที่เยื่อบุหัวใจซ้ำได้
Rheumatic Heart Disease
คือ
เกิดตามหลังไข้รูห์มาติค มีการติดเชื้อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพของอวัยวะ เช่น การอักเสบของหัวใจทำให้หัวใจวายได้
อาการและอาการแสดง
major criteria
Carditis ,polyarthritis, subcutaneous nodules, erythema marginatum
chorea หรือ sydenham’s chorea
minor criteria
มีไข้ต่ำๆ polyarthralgia มีอาการปวดข้อโดยไม่มีอาการอักเสบ มีประวัติเคยเป็นไข้รูห์มาติค
ปวดท้อง รู้สึกไม่สบาย อ่อนเพลีย ปวดเมื่อย เหงื่อออกมาก เจ็บหน้าอกซีดและน้ำหนักลด
การวินิจฉัย
ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ β-hemolytic Streptococcus group A ซ้ำและมีการติดเชื้อเยื่อบุหัวใจ
Pt.เสี่ยงต่อเนื้อเยื่อของร่างกายขาดO2 เนื่องจากมีภาวะหัวใจวาย
Pt.มีความเครียดต่อการถูกจำกัดให้พักอยู่บนเตียงและอยู่โรงพยาบาลเป็นระยะเวลานาน
บิดามารดาเกิดความวิตกกังวลต่อการเจ็บป่วยของบุตร และการดูแลบุตรเมื่อกลับบ้าน
Kawasaki Disease
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส ริกเก็จเชีย และอื่นๆที่กระตุ้นให้เด็กบางคนตอบสนองทางอิมมูนผิดปกติ
พยาธิสรีรวิทยา
มีการอักเสบของผนังหลอดเลือดแดงโคโรนารี่และหลอดเลือดแดงขนาดกลางอื่นๆ และมี Platelet thrombi อุดหลอดเลือดแดง
อาการและอาการแสดง
ไข้ ตาแดง ปากแดง การเปลี่ยนแปลงที่มือแดง เท้าและต่อมน้ำเหลืองที่โต
ผล LAB
มีเม็ดเลือดขาวที่อายุน้อยมากขึ้น เกล็ดเลือดสูงในสัปดาห์ที่ 2-3 เลือดจาง ESR และ C-reactive protein สูงขึ้น
มีเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ เม็ดเลือดขาวสูงในน้ำไขสันหลัง ระดับ transaminase และบิลิรูบินในซีรั่มสูงขึ้นเล็กน้อย
การพยาบาล
ประเมินการทำงานของหัวใจและปอดและหลอดเลือดเกี่ยวกับการมีอาการของหัวใจอักเสบ
ประเมินการไหลเวียนเลือดของแขนขา
วัดสัญญาณชีพและควรสังเกตดูปฏิกิริยาของการแพ้
ดูปฏิกิริยาข้างเคียงของยา
ตวงและบันทึกน้ำดื่ม ปัสสาวะ ในรอบ 24 ชั่วโมง
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
ทำความสะอาดปาก ฟัน ปากแตกแห้ง ถ้าในปากมีเยื่อบุในปากอักเสบอาหารต้องเป็นประเภทอ่อน
ระวังการติดเชื้อของผิวหนัง
จัดสภาพแวดล้อมให้เงียบสงบ
นางสาวคีตภัทร บุญขำ
เลขที่ 9 รหัส 62111301010