Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
health care financing = การเงินการคลังสุขภาะ - Coggle Diagram
health care financing = การเงินการคลังสุขภาะ
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
กระบวนการสนับสนุนด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณะสุข
(process of funding health service)
เพื่อใช้ตามพันธกิจหลักและพันธกิจรอง
สถานะภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุด (maximise health)
ดีขึ้นสูงสุดอย่างถ้วนหน้า
3 dimension to consider when moving towards universal coverage
population
services
reduce cost sharing and fees
health financing object = เป้าหมายของการคลังสุขภาพ
ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศยากจน = หาเงินอย่างไรให้พอในการจัดบริการ
ประเทศปานกลาง = ทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคลุม
ประเทศร่ำรวย = จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างไร
จัดระบบกลไกให้ใช้ทรัพยาการที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ = จะเลือกซื้อบริการอะไร
การจ่ายค่าบริการ
เพื่อให้ผู้ให้บริการมีแรงจูงใจในการบริการ
เพื่อให้มีประสิทธิภาพในการบริการที่สูง
ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
ทำอย่างไรให้คนจนแและคนรวยเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียม
health financing process
1.revenue collection = เก็บเงินมารวมกัน
2.risk pooling = เอาความเสี่ยงมาแชร์กัน
3.resource allocation and purchasing = ซื้อบริการจากหน่วยต่างๆ
4.service provision = เกิดบริการสุขภาพ
การเงินและการเจ็บป่วยในระบบสุขภาพ
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
หน่วยบริการสุขภาพ
ระบบบริการภาครัฐ
แหล่งเงินจากภาครัฐ = เสถียรภาพดีที่สุด
งบประมาณภาครัฐ
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
สวัสดิการข้าราชการ
ระบบบริการภาคเอกชน
แหล่งเงินจากภาคเอกชน = ขาดเสถียรภาพ
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ (ประกันชีวิต)
แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศและเงินอื่นๆ
ข้อดีและข้อเสียแหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินจากภาครัฐ
มีเสถียรภาพมากได้จากการเก็บภาษี และขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมือง
แหล่งเงินจากภาคเอกชน
ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับวิกฤตเศรษฐกิจ
แหล่งการคลังอื่นๆ
ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความมรุนแรงของปัญหาภายในประเทศ
สภาพปัญหาการคลังในระบบบริการสาธารณะสุข
ประเทศไทยมีระบบประกันสุขภาพ 3 ระบบ ภายใต้กระทรวงการคลัง กระทรวงแรงงาน กระทรวงสาธารณสุข
สภาพปัญหา
เกิดความเหลื่อมล้ำ ความซ้ำซ้อนในการบริหารจัดการ ภาระเบี้ยประกัน การจัดการบริหารด้านกการเงินการคลัง
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
การเปลี่ยนแปลงโโครงสร้างประชาการ
การเปลี่ยนแปลงสถานภาพและกระบวนการรักษา
การเปลี่ยนแปลงการอภิบาล
การเปลี่ยนแปลงด้านเศษฐกิจ
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกันและผู้ให้บริการ
ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อกันมาก กรณี voluntary insurance
ใช้บริการมากเกินความจำเป็น
องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง กรณี voluntary insurance
ผู้ให้บริการ
การให้บริการเกินความจำเป็น
การให้บริการต่ำกว่าความจำเป็น
ความไม่สมมาตรของข้อมูล (asymmetric information)
กรณีที่มีความไม่สมบูรณ์ของข้อมูล คือ ข้อมูลที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาดแต่ละฝ่ายนั้นไม่เท่ากัน
ผู้ขายอาจมีข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์มากกว่าผู้ซื้อ จึงทำให้เกิดความล้มเหลวของการตลาด
moral harzard
moral harzard คือ หลังจากผู้เอาประกันทำสัญญาแล้วมีพฤติกรรมเปลี่ยนไป
พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้บริษัทประกันสุขภาพต้องรับมือกับการจ่ายค่าสินไหมทดดแทนบ่อยขึ้นโดยไม่จำเป็น
moral harzard ที่เกิดหลังป่วย
ถ้าไม่มีประกันสุขภาพ เมื่อเราเจ็บป่วยเล็กน้อยเราจะรอดูอาการก่อนจนหายเอง
moral harzard ที่เกิดก่อนป่วย
เมื่อรู้ว่าไม่ต้องจ่ายค่ารักษาพยาบาลเอง เราอาจไม่ระวังเรื่องการรักษาสุขภาพ
adverse selection
adverse selection คือ บริษัทไม่สามารถแยกแยะว่าผู้เอาประกันมีความเสี่ยงสูงหรือเสี่นงต่ำที่จะเจ็บป่วย ทุพลภาพ หรือเสียชีวิต
องค์ประกอบในระบบประกันสุขภาพ
ประชาชน/ผู้ป่วย
ผู้ให้บริการ
กองทุน
รัฐ/องค์กรวิชาชีพ
ประเภทของประกันสุขภาพ
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากภาษี
สวัสดิการสังคม สวัสดิการข้าราชการ
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
ประกันสังคมภาคบังคับ กองทุนเงินทดแทน ประกันผู้ประสบจากรถ
กการประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
ประกันสุขภาพสมัครใจ บัตรสุขภาพ ประกันสุขภาพเอกชน
รูปแบบประกันสุขภาพในประเทศไทย
สวัสดิการรักษาพยาบาล/พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ประกันสังคม กองทุนทดแทน การประกันภัยภายใต้พรบ. การประกันสุขภาพภาคบังคับ
ระบบประกันสุขภาพพถ้วนหน้า
ประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
การจ่ายเงินให้สถานบริการ
จ่ายย้อนหลังตามบริการ
จ่ายล่วงหน้าตามข้อตกลง
จ่ายเงินแบบผสม
แรงจูงใจสำคัญสำหรับผู้ให้บริการ
รายกิจกรรม
เพิ่มจำนวนผู้มารับบริการ เพิ่มปริมาณที่ให้บริการ เลือกให้บริการราคาแแพง
เหมาจ่ายรายหัว
เพิ่มจำรวนผู้มาขึ้นทะเบียน ลดการมารับบริการของแต่ละคนและลดดปริมาณการให้บริการลง
ตามรายป่วย
เพิ่มจำนวนผู้รับบริการ ลดปริมาณที่ให้บริการ และเลิกให้บริการที่ราคาถูกลง
งบยอดรวม
ลดจำนวนผู้ป่วยและการบริการลง
เงินเดือน
ลดจำนวนผู้ป่วยและการบริการลง
ราคารายวัน
เพิ่มจำนวนวันนนของผู้ป่วย
อัตราคงที่
ให้บริการเฉพาะส่วนที่จะมีเงินเพิ่มพิเศษ ละเลยการบริการอื่นๆ
ปัญหาระบบสุขภาพในประเทศไทย
การเลือกและการใช้สิทธิกับผู้ป่วยที่มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่
อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราขการสูงมมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ