Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเงินการคลังสุขภาพ (Health Care Financing) - Coggle Diagram
การเงินการคลังสุขภาพ
(Health Care Financing)
แนวคิดทางการเงินการคลังในระบบสุขภาพ
ความหมาย คือ คือ การสนับสนุoด้านการเงินให้กับสถานบริการสาธารณสุข
มีเป้าหมาย คือ สุขภาพของประชาชนดีขึ้นสูงสุดอย่างถ้วนหน้า
ชุดสิทธิประโยชน์ (Benefit packages)
เพื่อให้ประชาชน ไม่เกิดภาวะล้มละลายจากการจ่ายค่า
บิรการ มุ่งหวังให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้อย่างถ้วนทั้วและเท่าเทียม
เป้าหมายของการคลังสุขภาพ
(Health financing objective)
1.ทำให้มีเงินเพียงพอในการจัดบริการสุขภาพ
ประเทศยากจน (Low income country)
จะหาเงินมาจากไหนให้พอในการจัดบริการ
ประเทศปานกลาง (Middle income country)
จะทำอย่างไรจึงจะมีหลักประกันสุขภาพครอบคุม
ประเทศร่ำรวย (High income country)
จะควบคุมค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นได้อย่างไร
2.จัดระบบไกให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
การเลือกซื้อบริการ (Purchase)
มีประสิทธิภาพในการบริการสูงจ่ายค่าบริการอย่างไร, อัตราเท่าใด
เพื่อให้ผู้ให้บริการมีแรงจูงใจในการให้บริการ
การจ่ายค่าบริการ (Reimbursement)
จะเลือกซื้อบริการอะไร
3.ให้ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่มีประสิทธิภาพเท่าเทียมกัน
จ่ายเงินอย่างไรให้ประชาชนได้รับบริการเท่าเทียมกัน
Health Financing Process
1.Revenue Collection = เก็บเงิน
2.Risk Pooling = การเอาเงินรวมกัน
3.Resource Allocation and Purchasing = การกระจายเงิน
4.Service Provision = ทำให้เกิดการบริการ
แหล่งการเงินการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
1.แหล่งเงินจากภาครัฐ
งบประมาณภาครัฐ
รายจ่ายจากองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่น
สวัสดิการข้าราชการ
หน่วยบริการสุขภาพ
ระบบบริการภาครัฐ
ระบบบริการภาคเอกชน
ข้อดี-ข้อเสีย = 1.มีเสถียรภาพมากได้จาการเก็บภาษี
2.ขึ้นอยู่กับนโยบายทางการเมือง
2.แหล่งการคลังอื่นๆ
เงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
3.แหล่งเงินจากภาคเอกชน
รายจ่ายโดยตรงจากครัวเรือน
รายจ่ายจากระบบประกันสุขภาพโดยสมัครใจ (ประกันชีวิต)
ข้อดี-ข้อเสีย = 1.ขาดเสถียรภาพง่ายขึ้นอยู่กับวิกฤตเศรษฐกิจ
2.หาบริการอื่นทดแทนได้
ข้อดี-ข้อเสีย = 1.ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับสภาพความรุนแรงของปัญหา
สภาพปัญหาการคลังในระบบบริการสาธารณสุข
แหล่งเงินจากภาครัฐ เช่น งบประมาณภาครัฐ,
รายจ่ายจากองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น,
สวัสดิการข้าราชการ
ระบบประกันสุขภาพในไทยมี 3 ระบบ ซึงอยู่ภายใต้ 3 กระทรวงหลักคือ กระทรวงการคลัง, กระทรวงสาธารณสุข, กระทรวงแรงงาน
สภาพปัญหา
เกิดความซ้ำซ้อนในการบริหารจัดการ,
ภาระเบี้ยประกัน, การลักลั่นของสิทธิประโยชน์
ปัจจัยที่มีผลต่อสมดุลทางการเงิน
ตัวแปรที่มีผลต่อสมดุลการเงิน
รายรับ
เงินสมทบ
ภาษี
รายได้
อัตราการพึ่งพิง
รายจ่าย
ต้นทุนต่อหน่วยบริการ
การเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างประชากร
สถานภาพและกระบวนการรักษา
การอภิบาลระบบ
ด้านเศรษฐกิจ
ปัญหาระหว่างผู้เอาประกัน และผู้ให้บริการ
1.ผู้เอาประกัน
กลุ่มเสี่ยงซื้อประกันมาก (Adverse selection)
กลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงสูง อีกกลุ่มหนึ่งมีความเสี่ยงต่ำและผู้เอาประกันทั้งสองกลุ่มต่างรู้ดีแก่ใจว่าตนอยู่ในกลุ่มความเสี่ยงสูงหรือกลุ่มความเสี่ยงต่ำ แต่บริษัทประกันไม่ทราบจึงไม่สามารถแยกแยะว่าผู้เอาประกันเหล่านั้นมีความเสี่ยงสูงหรือต่ำที่จะเจ็บป่วย ทุพพลภาพ หรือเสียชีวิต
จริยธรรมการใช้บริการ (User moral hazard) โดยการใช้บริการมากเกินจำเป็น เช่น "ฉันจะทำอะไรก็ได้ เดี๋ยวประกันก็มาจ่าย"
moral hazard ที่เกิดหลังป่วย (ex post) ถ้าไม่มีประกันสุขภาพ ถ้าเราเจ็บป่วยเล็กน้อย เราจะรอดูอาการก่อนจนหายเอง
moral hazard ที่เกิดก่อนป่วย (ex-ante) เมื่อเรารู้ว่าไม่ต้องจ่ายค่ารักษาเอง เราอาจไม่ระวังรักษาสุขภาพ
2.องค์กรประกัน
คัดเลือกกลุ่มเสี่ยง (risk selection)
3.ผู้ให้บริการ
จริยธรรมการให้บริการ (Provider moral hazard)
การให้บริการเกินความจำเป็น (Over-service)
การให้บริการต่ำกว่าที่ควรจะเป็น (Under-service)
การเงินและการเจ็บป่วยในระบบสุขภาพ
Family
Patient
Office
ประเภทของการประกันสุขภาพ
การสร้างหลักประกันสุขภาพจากระบบภาษี
(Tax-based health insurance) หรือ (Beveridge model)
การประกันสุขภาพแบบบังคับ
(Compulsory health insurance) หรือ (Bismarck model)
การประกันสุขภาพแบบสมัครใจ
(Voluntary health insurance)
รูปแบบหลักประกันสุขภาพในประเทศไทย
สวัสดิการสังคม (public welfare) :Welfare
ประกันสุขภาพสมัครใจ (บัตรสุขภาพ) :Voluntary insurance
ประกันสังคม ภาคบังคับ :Compulsory insurance
กองทุนเงินทดแทน :Compulsory insurance
สวัสดิการข้าราชการ :Fringe benefit
ประกันผู้ประสบจากรถ :Compulsory insurance
ประกันสุขภาพเอกชน :Voluntary insurance
สวัสดิการรักษาพยาบาล และ พนักงานรัฐวิสาหกิจ
ประกันสังคม กองทุนเงินทดแทน การประกันภัย
(การประกันสุขภาพภาคบังคับ)
ภายใต้ พรบ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ
ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า (๓๐ บาทรักษาทุกโรค)
ประกันกับบริษัทเอกชน (แบบสมัครใจ)
สิทธิประโยชน์ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
เจ็บป่วยทั่วไปหมายถึง อาการเจ็บป่วยที่ไม่ใช่อาการฉุกเฉิน ซึ่งอาจรอรับหรือเลือกสรรบริการได้
แนวทางการใช้สิทธิ
1.เข้ารับบริการที่หน่วยบริการประจำตามสิทธิ
2.แจ้งขอใช้ "สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ" ก่อนรับบริการ พร้อมแสดงหลักฐานประกอบ เช่น บัตรประชาชน
ประกันสังคม (ไตรภาคี)
นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป
จ่ายเงินสมทบกองทุนภายใน 30 วัน
• ผู้ประกันตนร่วมจ่ายร้อยละ 4.5 ของเงินเดือน
• นายจ้างจ่ายร่วมร้อยละ 4.5 ของเงินเดือน
• รัฐบาลร่วมจ่ายร้อยละ 2.5 ของเงินเดือน
จ้านวนเงินสมทบคิดจากฐานค่าจ้างขั้นต่้า 1,650 บาท
จ่ายไม่เกิน 15,000 บาทต่อเดือน
ผู้ประกันตนมาตรา 33
จะได้รับสิทธิประโยชน์ 7 กรณี
1.กรณีเจ็บป่วย
2.กรณีคลอดบุตร
3.กรณีทุพพลภาพ
4.กรณีตาย
5.กรณีสงเคราะห์บุตร
6.กรณีชราภาพ
7.กรณีว่างงาน
กรณีเจ็บป่วย
รักษาในสถานพยาบาลของรัฐ
รักษาในสถานพยาบาลของเอกชน
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535
ค่าเสียหายเบื้องต้น (จ่ายไม่ต้องรอพิสูจน์ถูกผิด
บาดเจ็บ = ไม่เกิน 30,000 บาท
สูญเสียอวัยวะ 35,000 บาท
ค่าสินไหมทดแทน
(จ่ายหลังพิสูจน์ถูกผิดแล้ว)
บาดเจ็บ = ไม่เกิน 80,000 บาท
สูญเสียอวัยวะ
นิ้วขาด 1 ข้อขึ้นไป = 200,000 บาท
สูญเสียอวัยวะ 1 ส่วน = 250,000 บาท
สูญเสียอวัยวะ 2 ส่วน = 300,000 บาท
เสียชีวิต/ทุพพลภาพถาวร = 300,000 บาท
งบรักษาสุขภาพประเทศไทย 3 ระบบ
1.บัตรทอง
2.สิทธิข้าราชการ
3.ประกันสังคม
14.47 ล้านคน
งบประมาณรายหัว = 3,354.80
4.97 ล้านบาท
งบประมาณรายหัว = 12,676.06
48.8 ล้านคน
งบประมาณรายหัว = 2,592.89
การจ่ายเงินให้สถานบริการ (Payment to provider)
1.จ่ายย้อนหลังตามบริการ (Retrospective reimbursement)
2.จ่ายเงินล่วงหน้าตามข้อตกลง
(Prospective payment)
3.จ่ายเงินแบบผสม (Mixed payment)
แรงจูงใจสำคัญสำหรับผู้ให้บริการ
รายกิจกรรม เพิ่มจำนวนผู้มารับบริการ เพิ่มปริมาณที่ให้บริการ เลือกให้บริการราคาแพง
เหมาจ่ายรายหัว เพื่อจำนวนผู้มาขึ้นทะเบียน แต่ลดการมารับบริการของแต่ละคน และลดปริมาณที่ให้บริการลง
ตามรายป่วย เพิ่มจ้านวนผู้รับบริการ แต่ลดปริมาณที่ให้บริการ และเลิก
ให้บริการที่ราคาถูกลง
งบยอดรวม ลดจำนวนผู้ป่วย
ลดจำนวนบริการลง
เงินเดือน ลดจำนวนผู้ป่วย
ลดจำนวนบริการลง
ราคารายวัน เพิ่มจำนวนวันนอนของผู้ป่วย
อัตราคงที่ ให้บริการเฉพาะส่วนที่จะมีเงินเพิ่มพิเศษ ละเลยบริการอื่นๆ
กลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRG)
ใช้เป็นเครื่องมือในการจัดสรรเงิน การจ่ายเงินเเละการประเมินผลงาน การจัดบริการของโรงพยาบาล
การสร้างมาตราฐานการคิดค่าบริการทางการแพทย์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
ปัญหาระบบสุขภาพในไทย
การเลือกและการให้สิทธิกับผู้มีรายได้น้อย
ผู้ป่วยเลือกซื้อบัตรสุขภาพเป็นส่วนใหญ่
(adverse selection)
อัตราการคืนทุนต่ำในบัตรสุขภาพ
(low cost recovery)
การให้บริการน้อยกว่าที่ควรในประกันสังคม (เอกชน)
ค่าใช้จ่ายของสวัสดิการข้าราชการสูงมาก
ความไม่เท่าเทียมของบริการและค่าใช้จ่ายระหว่างระบบ