Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Systemic Lupus Erythematosus (SLE) - Coggle Diagram
Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
อาการ
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลด
อาการทางผิวหนังและเยื่อบุช่องปาก
มีผื่นชนิด SCLE ลักษณะผื่นเป็นปื้นสีแดง มีสะเก็ดสีขาว ลักษณะเหมือนผื่นสะเก็ดเงิน
มีแผลในช่องปาก
อาการทางข้อและกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อผู้ป่วยส่วนมากมีอาการปวดกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้ออ่อนแรง มักเป็นผลมาจากข้ออักเสบ หรือ เกิดจากการใช้ยาเสตียรอยด์ กล้ามเนื้อที่มีการอักเสบเพิ่มขึ้นของ creatinien phosphokinaase
กล้ามเนื้ออ่อนแรง moter power g.3
อาการไต
อาการทางไตพบได้ในผู้ป่วยโรคแอสเอลอีเกือบทุกรายโดยมีความรุนแรง แรงมากน้อยแตกต่างกัน ในระยะแรกมักไม่มีอาการและสามารถตรวจพบได้เมื่อส่งตรวจปัสสาวะและเลือดเพื่อดูการทำงานของไต ที่มีการทำลายของไต ที่มีการทำลายของไตอย่างมากอาจจะพบโปรตีนและ/หรือ เลือดในปัสสาวะและอาจมีอาการบวมโดยเฉพาะที่เท้าและขา
creatinien มีค่า 4.45 mg/dl
มีประสิทธิภาพการกรองลดลง
การทำงานของไตผิดปกติ
มือบวม pitting 2+ เท้าบวม pitting 4+
อาการทางระบบเลือด
ความผิดปกตินี้เกิดจากการที่ภูมิต้านทานตัวเองไปทำลายเซลลืเมดเลือดแดง กลไกการทำลายเม็ดเลือดแดง(ซึ่งมีหน้าที่ขนส่งออกซิเจนจากปอด ไปสู่ส่วนอื่น ของร่างกาย) ทำให้เกิดการแตกของเม็ดเลือดแดงและทำให้ เกิดภาวะซีด
มีภาวะซีด
อ่อนเพลีย
เวียนศีรษะ
Hb 9.8g/dl
Hct 28.6 %
ติดเชื้อ
WBC = 17,800 cell/mm3
เลือดออกง่าย
Pletelet 74,000 cell/mm3
อาการทางระบบประสาท
อาการทางระบบประสาทส่วนกลางได้แก่ ปวดศีรษะ ชักและอาการทาง จิตเวชเช่น มีความยากลำบากในการใช้สมาธิ การจดจำ อารมณ์แปรปรวน ซึมเศร้าและโรคจิต (เป็นสภาวะทางจิตใจที่รุนแรงที่ทำให้รบกวนด้านความคิดและพฤติกรรม)
ปวดศีรษะ
มีอาการชักกระตุก
แขนขาอ่อนแรง
แขนขา motor power g.3 ทั้งสองข้าง
อาการทางระบบทางเดินอาหาร
มักจะเป็นอาการที่เกิดจากผลข้างเคียงของยาที่ใช้รักษา เช่นยาแก้ปวดกลุ่ม NSIADs หรือจากเตียรอยด์ทำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารได้ อย่างไรก็ตามตัวโรคเองอาจจะทำให้เกิดตับอ่อนอักเสบและมีอาการปวดท้องคลื่นไส้ อาเจียน และอาจทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุภายในช่องท้องหรือลำไส้ใหญ่อักเสบได้
คลื่นไส้ อาเจียน
เบื่ออาหาร
รับประทานอาหาร BD(2:1) 200*4 มื้อ น้ำตาม 30 ml น้ำระหว่างมื้อ50 feed รับได้ครึ่งแก้ว (100ml)
ผลจากยา Prednisolone
กัดกระเพาะอาหาร
อาการทางปอดและเยื่อหุ้มปอด
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ อาการแสดงคือเจ็บหน้าอก โดยเฉพาะเวลาหายใจเข้าสุด ตรวจพบมีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด บางรายมีอาการปอดอักเสบ
หายใจเหนื่อยหอบ นอนราบไม่ได้
on oxygen mask with bag 10 LPM
ไอแห้งบ่อยๆครั้ง โดยเฉพาะเวลากลางคืน
มีอาการเจ็บหน้าอก
ฟังปอด crepitation breath sound both lung
อัตราการหายใจ 24 ครั้ง/นาที
O2 Saturation 95%
ความหมาย
คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โดยภูมิคุ้มกันของคน ๆ นั้นทำลายเนื้อเยื่อภายในร่างกายของตัวเองจนเกิดการอักเสบและสามารถทำให้เกิดความผิดปกติกับอวัยวะได้ทั่วร่างกาย พบได้ในเพศหญิงมากกว่าเพศชายในช่วงวัยเจริญพันธุ์ นอกจากนี้ยังมีปัจจัยร่วมอื่น ๆ ที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคได้ เช่น กรรมพันธุ์ (อาจจะมีสารพันธุกรรมบางชนิดที่สัมพันธ์กับการเป็นโรคแพ้ภูมิตัวเอง) ส่วนปัจจัยที่กระตุ้นให้โรคกำเริบมากขึ้น ได้แก่ การติดเชื้อภายในร่างกาย แสงแดด เป็นต้น หากป่วยเป็นโรคนี้ร่างกายจะมีการสร้างโปรตีนชนิดหนึ่งขึ้นมาชื่อว่า Antinuclear Antibody ทำให้แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคได้ชัดเจน
การตรวจวินิจฉัยโรค
การตรวจวินิจฉัยโรคแพ้ภูมิตัวเอง หรือ SLE ต้องอาศัยประสบการณ์และความชำนาญของแพทย์ที่ทำการรักษาเป็นสำคัญ ส่วนใหญ่แพทย์จะวินิจฉัยจากประวัติของผู้ป่วย การตรวจร่างกายพบรอยโรคร่วมกับการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น การตรวจเลือด ปัสสาวะ การตรวจเอกซเรย์หัวใจและปอด ฯลฯ
สาเหตุ
ปัจจัยภายนอก
ยาบางตัว
สิ่งแวดล้อม
การติดเชื้อบางชนิด
E.coli
ปัจจัยภายใน
พันธุกรรม
MCH Genes(HLA genes)
ฮอร์โมน
จากการฉีดยาคุม
Depo medroxy progesterone acetate(DMPA)
Hormone estrogen
การตั้งครรภ์
มีลูกตั้งแต่อายุ 15 ปี
เพศ
มักพบในเพศหญิงเป็นส่วนมาก
การรักษา
บรรเทาอาการอักเสบ
penisolone
ควบคุมอาการ
ให้ยาแก้ปวด ยาลดความดัน
hemodialysis
การปฏิบัติตัวเพื่อควบคุมอาการ
หลีกเลี่ยงการติดเชื้อ ดูแลทำความสะอาดร่างกาย
หลีกเลี่ยงแสงแดดและแสงไฟที่จะทำให้อาการกำเริบ
ทานอาหารปรุงสุก งดหมักดอง จำกัดเกลือ หลีกเลี่ยงภาวะเครียด
บริหารข้อ ป้องกันการเกิดข้อพิการ
ไม่ซื้อยารับประทานเองเมื่อเจ็บป่วย
มาตรวจตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
ข้อวินิจฉัย
มีความพร่องในการเปลี่ยนออกซิเจน เนื่องจากหายใจไม่มีประสิธิภาพอ่อนเพลียและยังไม่การติดเชื้อที่ปอด
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะและเสี่ยงต่อการติดเชื้อในระบบอื่นๆในร่างกาย
ไม่มีความรู้ในการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมกับโรค
ผู้ป่วยไม่สบายปรับตัวยอมรับเกี่ยวกับโรคได้/ ญาติและผู้ป่วยมีความวิตกกังวล
ได้รับสารอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย
มีความไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการปวด
ความสามารถในการทำกิจกรรมลดลงเนื่องจากอ่อนเพลีย กล้ามเนื้อไม่มีแรง และเม็ดเลือดแดงน้อย
ขาดความสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลท์ เนื่องจากการควบคุมความสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลท์เสีย อาการคลื่นไส้อาเจียนและมีการขับขอเสียออกทางปัสสาวะ