Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 Part 1 การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา, นางสาวสายหมอก…
บทที่ 6 Part 1
การจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
แผน (Plan)
ข้อกำหนดที่ใช้เป็นเครื่องมือ หรือ แนวทางในการปฏิบัติที่แสดงโครงการ กิจกรรม
ข้อกำหนดที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามเป้าหมาย มีระยะเวลา 3 ปี 4 ปี หรือ 5 ปี แล้วแต่ความเหมาะสม
นี้ สะท้อนกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ที่จะใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงเพื่อนำไปสู่เป้าหมาย (Strategic Plan/Improvement Plan)
ความสำคัญของแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา
กระบวนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โดยอาศัยหลักการและแนวคิดการบริหารจัดการโดยใช้วงจรคุณภาพ
แผนปฏิบัติการประจำปี
(Action Plan/Operation Plan)
แผนปฏิบัติการประจำปี มีจุดเน้นเป็นรูปธรรมในการดำเนินกิจกรรมตามกรอบเวลา สถานที่ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ เพื่อการดำเนินงานเป็นรายปี กำหนดติดตาม ตรวจสอบการดำเนินงาน รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงาน ปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพ
แผนที่เกิดจากการวิเคราะห์แผนพัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อการดำเนินงานเป็นรายปี
ระยะเวลาดำเนินงาน 1 ปี
มีการปรับปรุงระหว่างการปฏิบัติตามแผนปฏิบัติการประจำปี
วิเคราะห์โครงการ/กิจกรรมในแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
กิจกรรม เลือกดำเนินการก่อนหลังในแต่ละปีตามลำดับ โดยพิจารณาจากความสำคัญ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษา
กำหนดกรอบความสำเร็จ แนวทาง ดำเนินการ การติดตาม ตรวจสอบและประเมิน :
ระยะเวลาดำเนินงาน 3-5 ปี
ผลการดำเนินงานจากแผนปฏิบัติการประจำปีที่ผ่านมาแล้ว มาปรับให้เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน
วิเคราะห์นโยบาย ยุทธศาสตร์เป้าประสงค์ จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สพฐ
โครงการ/กิจกรรม ออกแบบไว้ตลอด 3-5 ปีมีความเชื่อมโยงและสามารถดำเนินการเพื่อให้เกิดคุณภาพภายในองค์รวมระยะยาว
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
กำหนดมาตรฐานการศึกษา
จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
3.ดำเนินงานตามแผน
ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
ติดตามผลการดำเนินการ
จัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SAR: Self–Assessment Report
พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
การขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา
เน้นการใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาและการบริหารจัดการสถานศึกษาเชิงกลยุทธ์ควบคู่กัน
ขั้นตอนการดำเนินงานตามวงจรคุณภาพการบริหารงานเชิงระบบ (PDCA)
P : Planning
เป็นขั้นการกำหนดกรอบรายละเอียดของการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ผ่านการศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์
D : Doing
เป็นขั้นการนำแนวทางที่ผ่านการวางแผนไว้อย่างชัดเจน มาสู่การปฏิบัติตามกิจกรรมซึ่งกำหนดไว้ในแนวทางดังกล่าว
C : Checking
การเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลสารสนเทศจากดำเนินการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงและพัฒนาคุณภาพสำหรับนำมาวิเคราะห์ แปลผล และเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์และเงื่อนไขของความสำเร็จ
A : Action
ขั้นการนำผลการประเมินมาพิจารณา สำหรับการแก้ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และพัฒนาคุณภาพ
การจัดและนำไปสู่การใช้แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา.
มาตรฐานด้านผลลัพธ์ (มาตรฐานคุณภาพผู้เรียน ที่จำแนกเป็นผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน)
มาตรฐานด้านกระบวนการ (มาตรฐานด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ กับมาตรฐานด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ)
ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (ระยะ 3 – 5 ปี)
1.แต่งตั้งคณะทำงาน
2.รวบรวมข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพภายในและภายนอกของสถานศึกษา
3.วิเคราะห์และประเมินศักยภาพของสถานศึกษา
กำหนดทิศทางการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
กำหนดกรอบกลยุทธ์การพัฒนา วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ ตัวชี้วัด
ค่าเป้าหมาย กลยุทธ์ริเริ่ม โครงการ
ุ6. จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
นางสาวสายหมอก วังตา 61202371 Sec.17