Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง - Coggle Diagram
สรุปการพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
การจำแนกประเภททารกแรกเกิด
ทารกแรกเกิดที่น้ำหนักน้อยคือทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำกว่า 2500 กรัม
ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักปกติคือทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2500 ถึง 4000 กรัม
การจำแนกตามอายุครรภ์
ทารกคลอดก่อนกำหนด คือ ทารกที่มีอายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็มหรือต่ำกว่านี้
ทารกแรกเกิดครบกำหนด คือ ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า 37 สัปดาห์ถึง 41 สัปดาห์เต็ม
ทารกแรกเกิดเกินกำหนด คือ ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 41สัปดาห์
ทารกแรกเกิด
หมายถึง ทารกที่อายุในช่วง 28 วันแรกของชีวิตเป็นระยะเริ่มต้นที่มีความสำคัญต่อการรอดชีวิตมี อัตราการตายมากที่สุดเมื่อเทียบกับประชากรวัยอื่น
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ในระดับปกติ (36.8 - 37.2 องศา)
การดูแลต้านการหายใจให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
การให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
การป้องกันการติดเชื้อ
การป้องกันการเกิดน้ำตาลในเลือดต่ำ
การป้องกันการเกิดเลือดออกและโลหิตจาง
การคงไว้ซึ่งความสมดุลของน้ำ กรด-ด่าง และอิเลคโทรลัยต์
การป้องกันการเกิดการแตกทำลายของผิวหนัง
การป้องกันการเกิดการแตกทำลายของผิวหนัง
การป้องกันการเกิด Retinopathy of Prematurity (ROP)
การดูแลการได้รับวิตามินและเกลือแร่
การดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการของทารกแรกเกิด (Developmental care)
ส่งเสริมสัมพันธภาพบิดามารดา-ทารก(bonding, attachment)
ปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมอุณหภูมิ
ภาวะอุณหภูมิกายต่ำ
การวินิจฉัย
อุณหภูมิกายแกนกลางของทารก < 36.5oC (วัดทางทวารหนัก)
อาการและอาการแสดง
ใบหน้าแดงผิวหนังเย็น เขียวคล้ำ หยุดหายใจ หายใจลำบาก ปลายมือปลายเท้าเขียว
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางทวารหนักหารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ชม.ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลีก 3.0 ซม
ทางรักแร้ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม 32-34องศาเซลเซียส
วัดอุณภูมิเด็ก Body temperature เด็ก 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
ใช้warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
การพยาบาลทารกที่ได้รับการรักษาในตู้อบ
ไม่เปิดผู้อบโดยไม่จำเป็น ให้การพยาบาลโดยสอดมือเข้าทางหน้าต่างตู้อบ
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทารก 4ทาง(นำ พา แผ่ ระเทย)
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.
เช็ดทำความสะอาดตู้ทุกวัน
ปัญหาระบบหัวใจ, เลือด
Patent Ductus Ateriosus (PDE)
การรักษา
รักษา PDA โดยใช้ยา Indomethacin ขนาดที่ให้0.1-0.2มก.กก.ทุก8ชม.X3ครั้ง ข้อห้ามใช้
BUN > 30 mgidl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000/mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr นานกว่า 8 hr
รักษา PDA โดยใช้ยา ibuprofen
เพื่อช่วยขับยังการสร้างprostaglandin ซึ่งจะทำให้ PDA ᆞ ให้ทุก 12-24 ชั่วโมง จำนวน 3-4 ครั้ง
สามารถปิดได้ร้อยละ 70
ได้ผลดีในหารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อย กว่า 32 สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10 วัน
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
ภาวะตัวเหลืองจากสรีรภาวะ (Physiological jaundice) เกิดจาก ทารกแรกเกิดมีการ สร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่ พบในช่วงวันที่ 2 - 4 หลังคลอด
ภาวะตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ ( Pathological jaundice) เป็นภาวะที่ทารกมีบิลลิรูบินใน เลือดสูงมากผิดปกติ และเหลืองเร็ว ภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังเกิด
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่าปกติ
มีการดูดซึมของบิสิรูบินจากลำไส้มากขึ้น
มีการกำจัดบิลิรูบินได้น้อยลง จากท่อน้ำดีอุดตัน
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้น ร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
การวินิจฉัย
ประวัติ มีบุคคลในครอบครัวมีโรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายหรือไม่
การตรวจร่างกาย ซีต เหลือง ตับ ม้ามโตหรือไม่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การพยาบาล
ปิตตาทารกด้วยผ้าปิดตา
ถอดเสื้อผ้าทารกออกและจัดให้ทารกอยู่ในท่านอนหงาย
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพทุก4 ชม
สังเกตลักษณะอุจจาระ เขียวปนเหลืองจากบิลลิรูบินและน้ำดี
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิสิรูบินในเลือด
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจเลือดหาระดับบิลลิรูบินในเลือด
สังเกตภาวะแทรกช้อนจากการได้รับการส่องไฟรักษา
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
การพยาบาล
อธิบายให้บิดามารดาทราบ
เตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ดูแลให้ร่างกายทารกอบอุ่น
ในขณะเปลี่ยนถ่ายเลือดต้องบันทึกปริมาณเลือดเข้า ออก ตรวจวัดสัญญาณชีพ
สังเกตภาระแทรกช้อน เช่น หัวใจวาย
ภายหลังการเปลี่ยนถ่ายเลือดตรวจวัดสัญญาณชีพ ทุก 15 นาทีทุก 30 นาที จนกระทั่งคงที่
ปัญหาทางระบบทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
Respiratory Distress Syndrome (RDS) ภาวะหายใจลาบากเนื่องจากการชาดสารลดแรงตึงผิว
คือ
มีอาการหายใจลำบาก (Dyspnea) หายใจเร็วกว่า 60ครัง/ นาที มีปีกจมูกบาน หายใจมี การดึงรังของกล้ามเนื้อทรวงอก(retraction) ,หายใจมีเสียง Grunting,เขียว (Cyanosis)
การรักษา
การให้ออกซิเจน ตามความต้องการของทารก เช่นการให้โดยใช้เครื่องช่วยหายใจ หรือ CPAP
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจาากการได้รับออกซิเจน โดยการปรับลดความเข้มข้น และอัตรา ไหลของออกซิเจน ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจนเช่น ภาวะปอดอุดกั้นเรื่อรัง (BPD) ภาระ จอประสาทตา
ให้สารลดแรงตึงผิวเพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดตีขึ้นลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
รักษาแบบประคับประคองตามอาการให้ใด้รับสารน้ำ อย่างเพียงพอรักษาสมดุลน้ำอิเลโตรไลท์ สมดุลกรตด่างในเลือด
การป้องกัน
มารดาที่มีความเสี่ยงจะคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก โดยเฉพาะอายุครรภ์ 24- 34 สัปดาห์ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชม.
apnea of prematurity หยุดหายใจนานกว่า20วินาที
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
จัดท่านอนที่เหมาะสม ศีรษะสูง เงยคอเล็กน้อยสังเกตอาการชาดออกซิเจน หายใจเร็ว เขียว ปีก จมูกบาน อกบุ๋ม (chest wall retraction) suction เมื่อจำเป็น
Retinopathy of Prematurity Retinopathy(ROP)
ปัญหาการติดเชื้อ
Necrotizing Enterocolitis
คือ
เป็นผลมาจากภาวะพร่องออกซิเจนการได้รับอาหารไม่เหมาะสม เร็วเกินไป
การพยาบาล
NPO
ห้ามวัดปรอททางทวารหนัก
แยกจากเด็กติดเชื้อ/ แยกผู้ดูแล
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ระบบทางเดินอาหาร
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
คือ
มีภาวะลำไส้เน่า
สาเหตุ
การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์
การคลอดก่อนกำหนด
ภาวะขาดออกซิเจน
อาการ
ท้องอืด
ถ่ายอุจจาระอาเจียนเป็นสีน้ำดี
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
การรักษา
NPO
ชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้างการละงับการติดเชื้อระบบต่างๆของ ร่างกาย
ใช้ยากลุ่มกระตุ้นความดันโลหิต
เฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยได้แก่ สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ การแข็งตัว ของเลือด การเปลี่ยนแปลงของพยาธิสภาพในทางเดินอาหาร
GER (Gastroesophageal Reflux)
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
gavagefeeding (OGtube) ในเด็กเหนื่อยง่าย
IVFให้ได้ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะNEC:observeอาการท้องอืดcontentที่เหลือดูดกลืนไม่ดี
ปัญหาน้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการแสดง
ซึม ไม่ดูดนม มีสะดุ้งผวา อาการสั่น ชีตหรือเขียว หยุดหายใจ ตัวอ่อน ปวกเปียก อุณหภูมิกายต่ำ ซักกระตุก
สาเหตุ
ไม่ได้รับกลูโคสจากมารดาอีกต่อไป
การสร้างกลูโคส (glucogenesis) เองที่ตับก็ทำได้น้อย
มีภาวะเครียดขณะอยู่ในครรภ์ ขณะคลอดหลังคลอด
การส่งเสริมสัมพันธภาพ
ส่งเสริมสายสัมพันธ์พ่อแม่ลูก Eye to eye contact , Skin to skin contact