Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 Part 2 มาตรฐานการศึกษา: ระบบการวัดผลแบบ OKRs, นางสาวสายหมอก วังตา…
บทที่ 5 Part 2
มาตรฐานการศึกษา: ระบบการวัดผลแบบ OKRs
OKR : Objective and Key Results
OKRs ที่ต้องทำ
(Committed OKRs)
Committed OKRs : วัตถุประสงค์ที่ต้องทำ เป้าหมายนี้ คือ ตัวชี้วัดต่าง ๆ ที่ต้องทำตามเป้าหมาย
Objective : WHAT
แสดงออกถึงเป้าหมายและความตั้งใจ จับต้องได้ มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
OKRs ที่อยากทำ
(Aspirational OKRs)
Aspirational OKRs : วัตถุประสงค์ที่อยากทำ เป้าหมายนี้ สะท้อนให้เห็นภาพที่ใหญ่กว่า เป็นภาพอนาคตขององค์กร (ระยะยาว)
Aspirational : WHY
แสดงออกถึงความสำเร็จที่วัดความคืบหน้าได้ และถ้าทำสำเร็จสามารถบอกได้ล่วงหน้าเลยว่า จะช่วยให้บรรลุวัตถุประสงค์หลักขององค์กรได้อย่างไร
ขั้นตอนหลักนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
1.การทำความเข้าใจในแนวคิดของ OKRs
เริ่มต้นออกแบบ OKRs
สื่อสารให้ทุกคนเข้าใจวิธีการนำเอา OKRs ไปใช้
4.การนำ OKRs ไปใช้ในทางปฏิบัติ
หลักการสำคัญในการใช้ OKRs
John Doerr ผู้นำเอา OKRs ไปใช้ใน Google กล่าวว่า แนวคิดที่เรียกว่า CFR เป็นส่วนที่ช่วยให้ OKRs ประสบความสำเร็จ (Doerr, 2018)
C : Conversation หรือ การสนทนา
F : Feedback หรือ การให้ข้อมูลย้อนกลับ
R : Recognition หรือ การให้การยอมรับ
OKRs กับการประเมินผลการทำงาน
OKRs ไม่ใช่เครื่องมือสำหรับประเมินผลการทำงาน หรือ ประเมินเพื่อพิจารณาขั้นเงินเดือน หากแต่เป็นเครื่องมือในการเพิ่มผลิตภาพ (Productivity)
Productivity คือ “การวัดประสิทธิภาพ (Efficiency) ของการผลิต (Production) ตลอดจนการทำงาน (Working) หรือแม้กระทั่งการบริการ (Service)
ข้อดี 2 ประการคือ
1.ทุกคนกล้าที่จะท้าทาย หากทำได้ไม่ถึงเป้าหมายที่ตั้ง
2.ทุกคนมีความคิดสร้างสรรค์ หรือ นวัตกรรม
ไม่ส่งผลต่อการทำงาน หรือ ขั้นเงินเดือน
OKRs กับการประกันคุณภาพการศึกษา
เป็นเครื่องมือทางเลือกในการนำไปใช้ในสถานศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าของเป้าหมายตลอดเวลา ทบทวน ปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
ระบบที่เรียกว่า Tailored Made
เป็นเครื่องมือที่สามารถใช้ในการวิเคราะห์หาจุดอ่อนจุดแข็งขององค์กร
ปัญหาที่เกิดจากใช้ OKRs ในสถานศึกษา
การตั้งเป้าหมายใน OKRs ไม่ท้าทาย
นำงานประจำทั่วไป ที่ไม่สำคัญมาตั้งเป็นวัตถุประสงค์
การตั้งวัตถุประสงค์ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์องค์กร
การตั้งผลลัพธ์หลักจำนวนไม่เหมาะสมมากหรือน้อยไปและไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
บทสรุปการใช้
OKRs
การใช้ OKRs ในการประกันคุณภาพสถานศึกษา
ปัญหาการประกันคุณภาพที่ผ่านมา
ตัวชี้วัดไม่เหมาะสม
เน้นหลักฐานเอกสารมากเกินไป
ใช้เวลามาก ทำให้ผู้สอนไม่มีเวลา
ผู้ประเมินไม่เข้าใจบริบทของแต่ละโรงเรียน
ประโยชน์ของการศึกษาที่มีต่อสถานศึกษาและภาครัฐ
ประโยชน์ของการศึกษาต่อสถานศึกษา นำแนวคิดการออกแบบและการนำ OKRs ไปใช้กับโรงเรียน เริ่มจากการสร้าง OKRs ระดับสถานศึกษา ระดับฝ่ายงาน และระดับผู้สอน ปรับให้เข้ากับบริบทของแต่ละโรงเรียน
ประโยชน์ของการศึกษาต่อภาครัฐ
ระบบ OKRs ไปใช้กับโรงเรียน เพื่อกำหนดวัตถุประสงค์และผลลัพธ์หลักให้สอดคล้องกับนโยบายและโครงการของกระทรวงหรือหน่วยงาน และเหมาะสมกับแต่ละบริบทของโรงเรียน
บทสรุปของ OKRs
1) โฟกัสและจัดลำดับความสำคัญ
2) ปรับแต่งและเชื่อมโยงการทำงานเป็นทีม
3)ติดตามผลเพื่อแสดงความรับผิดชอบ
4) เป้าหมายที่ท้าทายเพื่อผลงานที่แปลกใหม่
ข้อจำกัด
ไม่สามารถกำหนด OKRs ประเภทที่ ต้องทำกับประเภทที่อยากทำให้แตกต่างกันได้
ขาดความเชื่อมั่นในการกำหนด OKRs ประเภทที่อยากทำ
กำหนดผลลัพธ์ที่สำคัญไม่เพียงพอต่อการบรรลุเป้าหมายตามวัตถุประสงค์
ข้อเสนอแนะ
Inspirational : เกิดแรงบันดาลใจ
Attainable: สามารถบรรลุได้
Doable in 3 months: ทำได้ใน 3 เดือน
Controllable by the team: อยู่ภายใต้การควบคุมของเรา
Provide organization value: สร้างคุณค่าให้องค์กร
Qualitative: กำหนดเป้าเชิงคุณภาพ
นางสาวสายหมอก วังตา 61202371 sec.17