Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ, นางสาวศศิธร อุตม์ทอง เลขที่11A รหัส623020110127…
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ
หมายถึงลักษณะการเต้นของหัวใจที่ผิดไปจากภาวะปกติคือ Normal sinus rhythm ได้แก่
- อัตราการเต้นของหัวใจที่มากกว่า 100 ครั้งต่อนาทีหรือน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที
- จังหวะการเต้นของหัวใจไม่สม่ำเสมอ
- รูปร่างของคลื่นไฟฟ้าหัวใจไม่ได้มาจาก Sa node (Sno atrial node)
สาเหตุ
- ปัจจัยที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพภายในหัวใจโดยการรบกวนการสร้างไฟฟ้า หรือการนำไฟฟ้า
-
-
-
-
-
- ปัจจัยจากพยาธิสภาพภายนอกหัวใจที่กระตุ้นให้การกำเนิดและการนำไฟฟ้าในหัวใจแปรปรวน
ความไม่สมดุลของเกลือแร่ในร่างกายเช่น Hypokalemia,Hyperkalemia, Hypercalcemia la: Hypomagnesemia Tutu
-
ความผิดปกติของระบบประสาทและฮอร์โมนจากการกระตุ้นหรือกดการทำงานของSympathetic หรือParasympathetic nervous systems เช่นภาวะไข้สูงการใช้ยาหรือสารต่างๆที่มีผลต่อการนำไฟฟ้าหัวใจหรือความผิดปกติของการทำงานของต่อมไร้ท่อเช่น Cheochromocutoma, Tuxedema , ภาวะไทรอยด์เป็นพิษและ Huperparathyroidism เป็นต้น
การวินิจฉัย
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ หรือกราฟหัวใจ เป็นการตรวจจับกระแสไฟฟ้าที่ออกมาจากหัวใจ หัวใจคนเราประกอบด้วยส่วนของกล้ามเนื้อหัวใจที่แข็งแรง ทำงานตลอดเวลา การที่กล้ามเนื้อหัวใจจะทำงานบีบตัวได้นั้น ต้องอาศัยไฟฟ้ากระตุ้น ซึ่งไฟฟ้านี้มาจากหัวใจเอง โดยจะปล่อยไฟฟ้าออกมาเป็นจังหวะ จากหัวใจห้องบนขวาลงมายังหัวใจห้องล่าง ขณะที่ไฟฟ้าผ่านกล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อหัวใจจะเกิดการหดตัว และตามมาด้วยการคลายตัว หัวใจจึงบีบตัวไล่เลือดจากห้องบนมายังห้องล่างอย่างสัมพันธ์กัน เมื่อนำเอาตัวจับสัญญาณไฟฟ้ามาวางไว้ที่หน้าอกใกล้หัวใจ ก็สามารถบันทึกไฟฟ้าที่ออกจากหัวใจนี้ได้
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง เป็นการบันทึกสภาวะคลื่นไฟฟ้าหัวใจตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อตรวจวินิจฉัยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ และหาสาเหตุของอาการใจเต้น ใจสั่น อาการวูบ การตรวจวิเคราะห์หัวใจด้วยคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชม. ทำโดยติดเครื่องบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมงไว้กับตัว ผู้ป่วยสามารถกลับไปพักที่บ้าน หรือทำงานได้ตามปกติ ไม่ต้องนอนพักที่โรงพยาบาล เมื่อครบกำหนด 24 ชั่วโมงแล้ว จึงกลับมาถอดเครื่อง และฟังผลการตรวจวิเคราะห์จากแพทย์ การตรวจวิธีนี้เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่อาจจะมีปัญหาใจสั่นผิดปกติเป็นครั้งคราว หน้ามืดคล้ายจะเป็นลมอยู่เสมอ เวียนศีรษะ ใจเต้นแรงผิดปกติเป็นประจำ หรือบางครั้งอาการดังกล่าวอาจไม่ปรากฎ การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ณ เวลาที่ไม่มีอาการก็ปกติ ทำให้ไม่ทราบว่าอาการใจสั่นเกิดจากหัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือไม่
อาการ
อาการและอาการแสดงขึ้นอยู่กับอัตราการเต้นของหัวใจการบีบตัวของหัวใจที่ส่งผลต่อ Cardiac Output และการนำเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย (systemic vascular Circulation)
บางรายอาจไม่มีอาการแสดงใด ๆ เพราะร่างกายสามารถปรับชดเชยได้ แต่บางรายมีอาการรุนแรงที่อาจเป็นอันตรายต่อการดำเนินชีวิตประจำวันและรุนแรงมากจนถึงขั้นเสียชีวิต (Sudden Cardiac death or cardiac arrest)
ถ้า HR> 150 ครั้งต่อนาทีทำให้ระยะเวลารับเดือดของหัวใจห้องล่างลดลง
ถ้า HR <40 ครั้งต่อนาทีทำให้ปริมาณเสือลที่ออกจากหัวใจลลลง
การพยาบาล
- บันทึกและติดตามผลการบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
12 lead เมื่อผิดปกติในรายที่มีการเต้นผิดจังหวะทำการตรวจสอบQRS,PR,QT intervalและST segmentประสานงานแพทย์เมื่อมีอาการผิดปกติ
- เตรียมพร้อมยาต้านการเต้นของหัวใจที่ผิดจังหวะ เตรียมยาเพื่อใช้ในการแก้ไขภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งอาจทำให้เกิดภาวะ Low Cardiac outputได้
- ให้การพยาบาลร่วมกับแผนการรักษาของแพทย์
เช่น การให้ยาต้านการเต้นของหัวใจผิดจังหวะ (Antiarrythmic drug) การเตรียมเครื่อง Cardiac
Pacemaker และ ดูแลสาย Epicardial pacing ต่อใช้ได้ทันทีเมื่อต้องการใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ ในกรณีที่มีหัวใจเต้นช้า หรือมี Heart block การ ช็อกหัวใจด้วย
ไฟฟ้า(Defibrillation, Cardio version) ในกรณีเกิด VT,SVT การกระตุ้นประสาทเวกัส (Vagus stimulation)เป็นการกระตุ้นประสาทพาราซิมพาเทติก
(Parasympathetic)
- Carotid Sinus massage โดยการนวดที่ angle of mandible กดไม่เกิน 5 วินาทีสังเกตภาวะ stroke (ห้ามทำให้ผู้ป่วยที่มีประวัติขาดเลือดไปเลี้ยงสมองชั่วคราว)
5 ให้การช่วยชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพให้ยาตามมาตรฐานและเน้นการค้นหาสาเหตุโดยเฉพาะสาเหตุและ การใช้การตรวจด้วยคลื่นความถี่สูงทางหัวใจยืนยันการตรวจพบว่ามีความแม่นยำสูง แต่ต้องไม่ขัดจังหวะการกดหน้าอกนานเกินไป
-