Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะคลอดยาก (Dystocia/Dysfunctional labour) /การคลอดยาวนาน (Prolong…
ภาวะคลอดยาก (Dystocia/Dysfunctional labour) /การคลอดยาวนาน (Prolong labour)
สาเหตุ
1.Abnormality of power
1.แรงจากการหดรัดตัวของมดลูก
Hypotonic uterine dysfunction
หมายถึง
การที่หดรัดตัวเป็นจังหวะ แต่ไม่แรง มดลูกยังนุ่มและไม่สามารถทำให้ปากมดลูกเปิดขยายได้ การหดรัดตัวของมดลูกจะห่างออกไป
ตรวจพบ
Interval มากกว่า 3 น
Frequency น้อยกว่า 3 ครั้งใน 10 น
intensity น้อยถึงปานกลาง
duration น้อยกว่า 40 วินาที
ระยะที่พบ
ระยะ active phase โดยเฉพาะในระยะ Phase of maximum slope
ระยะที่สองของการคลอด
สาเหตุ
8.Full bladder
9.ผู้คลอดครรภ์หลังผนังหน้าท้องหย่อน
7.Ovarian cyst
6.Myoma uteri
10.สาเหตุทางจิตใจ
3.ความเจ็บปวดจากการคลอด
4.ใช้ยาระงับปวดก่อนถึงเวลาหรือมากไป
2.เชิงกรานแคป
5.มดลูกขยายมกกว่าปกติ
1.ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
Hypertonic uterine dysfunction)
หมายถึง
การที่มดลูกหดรัดตัวแรงแต่ไม่มีประสิทธิภาพ กล้ามเนื้อมดลูกระยะพักตึงตัวมากกว่าปกติ และหดรัดตัวไม่มีจุดรวมของการหดรัดตัวที่ยอดมดลูก ทำให้มารดามีความเจ็บปวดมาก แต่ปากมดลูกไม่เปิดขยายและส่วนนำของทารกไม่เคลื่อนต่ำ
ระยะที่พบ
ระยะ Latent phase การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าปกติ
แบ่งได้ 3 ชนิด
มดลูกหดรัดตัวมากผิดปกติชนิดหดรัดตัวไม่คลาย(Tetanic contraction)
มดลูกหดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอยคอดของทารก (Constrictionring)
มดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน (Uncoordinated contraction)
สาเหตุ
1.เด็กอยู่ในท่าผิดปกติ
2.การผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกกับอุ้งเชิงกรานมารดา
3.สาเหตุทางจิตใจ กังวล กลัวเจ็บ
4.ใช้ยาเร่งคลอดมากเกินไป
2.แรงจากการเบ่ง (Force from voluntary muscle หรือ Bearing down effort)
หมายถึง
แรงเบ่งที่ถูกต้องจะเพิ่มแรงดันในโพรงมดลูกให้เพิ่มขึ้น 2-3 เท่า จึงมีความสำคัญมากในระยะที่สองของการคลอด เพราะจะทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของกลไกการคลอดได้
ผลการเบ่งไม่ถูกวิธีหรือแรงเบ่งน้อย
ระยะที่สองของการคลอดยาวนาน จากกลไก descent กลไก Flexion) และinternal rotation เกิดขึ้นล่าช้า
ผู้คลอดหมดแรง อ่อนเพลียและ dehydration
สาเหตุ
2.หมดแรงเพราะคลอดนาน ขาดน้ำ ขาดสารอาหาร พักผ่อนไม่พอ
3.มีความพิการของร่างกายหรือมีโรคประจำตัว
4.ให้ยาระงับปวด ยาชา ยานอนหลับมากไป
1.เบ่งไม่ถูกวิธี
5.ไม่ให้ความร่วมมือในการเบ่ง
2.Abnormality of passage)
Bone passage
สาเหตุ
เชิงกรานแคบ คือ เชิงกรานในระดับช่องเข้า ช่องกลาง หรือช่องออกมีเส้นผ่าศูนย์กลางแคบที่ส่วนใดส่วนหนึ่งหรือหลายส่วน โดยมีขนาดสั้นกว่าเกณฑ์ปกติ 1 เซนติเมตรหรือมากกว่าทำให้ทารกที่มีขนาดที่ปกติคลอดยากหรือคลอดไม่ได้
ชนิด
1.เชิงกรานแคบที่ช่องเข้า (inlet cotraction)
เส้นผ่านศูนย์กลางตรงของช่องเข้าน้อยกว่า 10 cm
เส้นผ่านศูนย์กลางขวางน้อยกว่า 12 cm
ทำให้ศีรษะทารกไม่สามารถเกิด Engagement ได้หรือเกิดได้ยาก
ตรวจพบ
ตรวจพบในขณะที่มาฝากครรภ์ในระยะใกล้คลอดและอายุครรภ์มากกว่า 36 สัปดาห์
ครรภ์แรกที่ทารกมีศีรษะเป็นส่วนนำจะตรวจพบว่าระดับส่วนนำไม่มี Engagement
ไม่มีอาการเจ็บครรภ์คลอดเมื่ออายุครรภ์ครบกำหนด
ตรวจหน้าท้องพบทารกมีขนาดใหญ่และสิ้นสุดการตั้งครรภ์โดยวิธีการผ่าท้องคลอด
2.เชิงกรานแคบที่ช่องกลาง (midpelvic contraction)
ทำให้เส้นผ่าศูนย์กลางตามแนวขวางแคบลง ซึ่งมักทำให้เกิด Transverse arrest of fetal head ในตำแหน่งนี้เป็นจุดที่จะทำให้ทารกในครรภ์เกิด internal rotation ของศีรษะ
ช่องกลางของเชิงกรานอยู่ที่ระดับ ischial spine ระยะห่างระหว่าง ischial spine ทั้งสองข้างน้อยกว่า 9.5 cm เนื่องจากปุ่ม ischial spine ยื่นแหลมออกมามาก
ถ้าแคบจะทำให้ศีรษะทารกหมุนเป็นท่า occiput anterior ได้ยาก
ตรวจพบ
ระยะที่หนึ่งและระยะที่สองของการคลอดไม่มีการหมุนของศีรษะทารก
ตรวจพบภายในคือ Saggital suture จะอยู่ในแนวขวาง
สิ้นสุดการคลอดด้วยสูติศาสตร์หัตถการ
3.เชิงกรานแคบที่ช่องออก (Outlet contraction)
ระยะระหว่าง ischial tuberosity น้อยกว่า 8 เซนติเมตร
มุมใต้กระดูกหัวเหน่าแคบน้อยกว่า 85 องศา
ถ้าเชิงกรานช่องกลางแคบจะพบเชิงกรานแคบที่ช่องออกด้วยซึ่งจะทำให้คลอดยากเพิ่มขึ้น
ตรวจพบ
จะพบเมื่อปากมดลูกเปิดหมดและเบ่งคลอดศีรษะของทารกจะเคลื่อนต่ำลงมา
มองเห็นศีรษะทารกได้ชัดเจนแต่ศีรษะของทารกจะถอยกลับขึ้นไปทุกครั้งที่หยุดเบ่ง
บางรายอาจจะคลอดปกติได้บางรายอาจจะช่วยคลอดด้วยวิธีสูติศาสตร์หัตถการ
เชิงกรานแคบทุกส่วน(Generally contracted pelvis)
solf passage
สาเหตุ
3.ช่องคลอดผิดปกติ
4.ปากช่องคลอดและฝีเย็บผิดปกติ
5.มดลูกอยู่ผิดที่ (Uterine displacement) ได้แก่ มดลูกคว่ำหน้า(ante flextion) และมดลูกคว่ำหลัง(retro flextion)
2.ปากมดลูกผิดปกติ
1.myoma uterine หรือ ovarian cyst
7.กระเพาะปัสสาวะเต็มหรือมีอุจจาระมาก
6.ปากมดลูกบวม(cervical edema)
pelvic contraction
สาเหตุ
1.การเจริญเติบโตของเชิงกรานผิดปกติ
ฮอร์โมนเพศหญิงไม่สมบูรณ์
โรคกระดูก
กระดูกเชิงกรานแตกหรือร้าวจากอุบัติเหตุหรือกระดูกเชิงกรานหัก
5.ความพิการจากกระดูกสันหลังหรือขามาแต่ในวัยเด็ก
เชิงกรานเจริญไม่เต็มที่ ถ้าอายุน้อยกว่า 18 ปี
7.เชิงกรานที่ยึดขยายลำบาก ถ้าอายุมากกว่า 35 ปี
กระดูกเชิงกรานรูปผิดปกติ
ประเภท
1.การผิดปกติของการคลอดในระยะ latent phase
ระยะของการคลอดใน latent phase ยาวนานกว่า 20 ชั่วโมงในครรภ์แรกและนานเกินกว่า 14 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
2.ความผิดปกติของการคลอดเนื่องจากปากมดลูกเปิดขยายช้า
1.ระยะที่มีการเปิดขยายของปากมดลูกช้ากว่า 1.2 cmต่อชั่วโมงในครรภ์แรกหรือช้ากว่า 1.5 cm ต่อชั่วโมงในครรภ์หลังในระยะ Phase of maximum slope ระยะ active ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมงในครรภ์แรกและมากกว่า 6 ชั่วโมงในครรภ์หลังสาเหตุส่วนใหญ่เนื่องจาก CPD
2.Protracted descent(Prolong descent) การที่ส่วนนำของศีรษะทารกเคลื่อนต่ำลงช้ากว่า 1 cmต่อชั่วโมงในครรภ์แรกและ ช้ากว่า 2 cm ต่อชั่วโมงในครรภ์หลัง
3.Prolong deceleration phase ระยะลดลงนานเกิน 3 ชั่วโมงในครรภ์แรกและนานเกินกว่า 1 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
4.Secondary arrest of dilatation คือปากมดลูกไม่เปิดขยายอีกต่อไปนานเกินกว่า 2 ชั่วโมงในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
3.ความผิดปกติของการคลอดในระยะที่ 2 ของการคลอด
2.Failure of descent หมายถึงส่วนนำไม่มีการเคลื่อนต่ำระดับส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลงมากกว่าระดับ ischial spine (station 0)การชะงักงันของการคลอดนี้ส่วนใหญ่เนื่องมาจาก CPD
1.Arrest of descent หมายถึงส่วนนำไม่เคลื่อนต่ำลงมาอีกเลยนานเกินกว่า 1 ชั่วโมงในครรภ์หลังและ 2 ชั่วโมงในครรภ์แรก
ผลกระทบของการคลอดยาก
ต่อมารดา
Exhaustion
Dehydration
Hypoglycemia
Maternal distress
เกิดการติดเชื้อในระยะคลอด
ลำไส้มีการเคลื่อนไหวลดน้อยลง
Uterine rupture
เกิดการยืดหย่อน ชอกช้ำ และฉีกขาดมากผิดปกติของหนทางคลอด
ทุกข์ทรมานทางจิตจากการเจ็บปวดเป็นเวลานาน
. ผู้คลอดเสียชีวิต
ต่อทารก
Infection
Fetal distress
Birth injury
Erb's palsy
Cephal hematoma
Mental retardation
Perinatal death
การพยาบาล
หลังคลอด
1.ดูการหดรัดตัวของมดลูก
2.ดูแลกระเพาะปัสสาวะและบริเวณแผลฝีเย็บ
3.ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
4.ให้ความอบอุ่นร่างกายผู้คลอด
5.ให้ผู้คลอดได้รับการพักผ่อน
ระยะคลอด
5.ให้ยาลดความเจ็บปวดตามแผนการรักษา
6.ดูแลสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
4.กระตุ้นให้ขับถ่าย
7.ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 4 ชม
12.ดูแลความสุขสบายของผู้คลอด
8.ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์ทุก 30 น –1ชม
3.ถ้ามดลูกหดรัดตัวถี่และแรงเกินไปถ้าให้ Oxytocin เร่งการคลอด ควรลดจำนวนหยดลงโดยดูผลของเสียงการเต้นของหัวใจทารกร่วมด้วยและรายงานแพทย์ถ้าอาการไม่ดีขึ้น
9.สอนเบ่งให้ถูกวิธีจะทำให้เพิ่มแรงดันในโพรงมดลูก 2-3 เท่า
2.ประเมินช่องทางคลอดร่วมกับการประเมินระดับส่วนนำของทารกและระดับของทารก
10.ให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อปากมดลูกเปิดหมด
1.ทุกระยะของการคลอด ควรดูแลการหดรัดตัวของมดลูกให้เป็นไปตามการหดรัดตัวในภาวะปกติ
11.เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัยและควรให้ความรู้เกี่ยวกับการคลอด
อาการและอาการแสดง
3.น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
4.FHS เด็กผิดปกติ
2.ตรวจภายในพบการ molding มาก
5.การหดรัดตัวของมดลูกรัดตัวไม่ดี
1.ตรวจภายในพบ caput succedaneum ในระยะ1ของการคลอด
6.Unprogress labour
7.Station อยู่สูง
8.ไม่มี mechanism ของการคลอดในส่วนของ internal rotation
9.ถุงน้ำแตกก่อนเจ็บครรภ์จริง
10.Attitude เด็กเป็นลักษณะ deflexion
11.ส่วนนำศีรษะลักษณะของ asynclitism มาก
12.Dry labour
13.ปากมดลูกบวม
14.ทารกท่าผิดปกติ ตัวใหญ่
สาเหตุ (ต่อ)
3.Abnormality of passenger
ชนิด
1.ส่วนนำผิดปกติ
2.ทารกมีขนาดใหญ่
3.มีแนวลำตัวผิดปกติ
4.จำนวนทารกในครรภ์ที่มีมากกว่า 1 คน
6.ท่าและทรงของเด็ก
5.ทารกมีรูปร่างผิดปกติ พิการ
7.ตำแหน่งที่รกเกาะผิดปกติ
8.ปริมาณน้ำคร่ำน้อยหรือมากกว่าปกติ หรือถุงน้ำคร่ำรั่วก่อนเจ็บครรภ์คลอดเป็นเวลานาน
6.Position
มีผลต่อแรงหดรัดตัวของมดลูก แรงเบ่ง ขนาดเชิงกราน และการหมุนภายในของทารก ท่าในแนวตรงหรือดิ่งเช่นท่ายืน หรือท่านั่งยองๆ
ท่าเดินจะทำให้การหดรัดตัวของมดลูกแรงและช่วยเสริมให้ทารกเคลื่อนต่ำลงด้วย
ท่าทำคลอดโดยทั่วไปคือ ท่านอนหงายชันเข่าขึ้น(Dorsal position) หรือพาดขาไว้บนขาหยั่ง(Lithotomy position)
ในรายที่การคลอดไหล่ยากหรือทำสูติศาสตร์หัตถการในการช่วยเหลือการคลอด
7.ปัจจัยอื่นที่ทำให้เกิดการคลอดยากผิดปกติ
1.มารดาตั้งครรภ์หลายๆครั้ง
2 มารดาอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป หรืออายุน้อยกว่า18 ปีลงมา
ได้รับยาระงับปวดหรือกล่อมประสาทในเวลาที่ไม่ควร หรือทำคลอดแบบไม่เจ็บครรภ์
4.Phychological Condition
ความกลัว วิตกกังวลที่สูงมาก และความเจ็บปวดมากจะทำให้ผู้คลอดหวาดกลัวต่อการคลอด รู้สึกไม่มั่นคงและไม่ปลอดภัย ไม่สามารถเผชิญหรือควบคุมความเจ็บปวดได้
ผลของความเครียดต่อการคลอด
1.ลดการทำงานของกล้ามเนื้อมดลูก
2.ระดับกลูโคสที่เก็บสะสมไว้ลดลง ทำให้การทำงานของกล้ามเนื้อมดลูกน้อยลง
3.ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น หลอดเลือดส่วนปลายหดรัดตัวและเลือดไปเลี้ยงมดลูกลดลง
4.การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกลดลงเนื่องจากระดับกลูโคสลดลงและ Epinephrine เพิ่มขึ้น
5.Physical condition
ผู้คลอดที่มีสุขภาพอ่อนแอ อ่อนเพลีย พักน้อยจากเจ็บครรภ์คลอดเวลากลางคืน หมดแรง ขาดน้ำ หรือได้รับอุบัติเหตุ บริเวณกระดูกอุ้งเชิงกราน มารดามีพยาธิสภาพ จะกระทบต่อ แรงเบ่งคลอดได้
นางสาวอารียา มั่นวงศ์ รหัส 61121301107 เลขที่ 103