Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคทางระบบประสาทในสตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคทางระบบประสาทในสตรีตั้งครรภ์
ผลของการตั้งครรภ์ต่อโรค
การตั้งครรภ์ไม่มีผลต่อการดำเนินของโรคโดยตรงการชักเพิ่มขึ้นในขณะตั้งครรภ์อาจเนื่องมาจากได้รับยาไม่เพียงพอเพราะคลื่นไส้อาเจียนไม่กล้ารับประทานยาเพราะกลัวอันตรายกับลูกหรืออาจเป็นผลเนื่องมาจากยาถูกขจัดออกเร็วขึ้นเนื่องจากการตั้งครรภ์เร่งการสร้างเอนไซม์ใน microsome ของเซลล์ตับทำให้เมตาบอลิสมของยาเปลี่ยนไป
ผลต่อมารดา
ความดันโลหิตสูงเนื่องจากการตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด
"อุบัติการณ์การผ่าตัดคลอดเพิ่มมากขึ้น
Megaloblastic anemia จากยากันชักเพิ่มความเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด
ผลต่อทารก "
พิการ แต่กำเนิดสูงขึ้น 3 เท่า รวมทั้งมีภาวะขาดสารโฟเลต (กาญจนาลั่นวงศ์, 2559)“
ทารกน้ำหนักแรกเกิดน้อยการตายปริกำเนิด"
การเจริญเติบโตช้าในครรภ์การแข็งตัวของเลือดบกพร่อง
การป้องกันและการรักษา.
ควรมีการควบคุมโรคอย่างดีโดยให้โรคสงบก่อนการตั้งครรภ์
ในขณะตั้งครรภ์ไม่ควรมีการปรับหรือเปลี่ยนยากันชักหากสามารถควบคุมอาการชัดได้ดีแล้ว
ตรวจวัดระดับยากันชักและปรับขนาดของยาให้เหมาะสมโดยในกรณีที่ควบคุมอาการชักได้ดีและมารดารับประทานยากันชักมากกว่า 1 ชนิดอาจพิจารณาลดขนาดยาหรือลดยาลงเหลือ 1 ชนิดเพื่อลดโอกาสการเกิดผลข้างเคียงต่อทารกในครรภ์และพยายามลดยาที่มีความเสี่ยงต่อความผิดปกติของทารกในครรภ์สูงไม่ใช่ Methagin
หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นการชักเช่นการใช้หัตถการช่วยคลอดเพื่อลดการเบ่งคลอดหลังคลอดระดับยากันชักจะสูงกว่าก่อนการคลอดควร
ตรวจวัดระดับยาและปรับให้เหมาะสมตรวจประเมินความพิการของทารกหลังคลอดซึ่งอาจเกิดอาการ withdrawal ของยาได้โดยทารกจะมีอาการ tremor ร้องเสียงสูงมีปัญหาในการดูดนม
การพยาบาล
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
ให้คำแนะนำการวางแผนการตั้งครรภ์อย่างปลอดภัย
ให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์เกี่ยวกับความเสี่ยงและวิธีการลดความเสี่ยง
ให้คำแนะนำการหลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นการชักเช่นความเครียดการพักผ่อนน้อย
เน้นให้รับประทานยากันชักอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
แนะนำให้ฝากครรภ์ให้เร็วที่สุดและควรจะต้องได้รับการตรวจคัดกรองภาวะผิดปกติของทารกในครรภ์ระหว่างอายุครรภ์ 16 20 สัปดาห์
นะนำให้ฝากครรภ์อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
หลังคลอด
1.ประเมินอาการนำของภาวะชัก
2.ประเมินสัญญาณชีพ
3.ไม่มีข้อห้ามในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่แนะนำให้นมและเปลี่ยนผ้าอ้อมบนพื้นราบ
4.ไม่อาบน้ำทารกตามลำพัง
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่เพื่อลดโอกาสเกิดซัก (กาญจนาอันวงศ์. 2559)
6.การคุมกำเนิดแนะนำการคุมกำเนิดถาวรหากมีบุตรเพียงพอแล้ว
7.ติดตามระดับยากันชักหลังคลอดอย่างใกล้ชิดเฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
คำแนะนำ
แนะนำให้คุมกำเนิดด้วยห่วงอนามัยเพราะไม่มีฮอลโมน