Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุปการพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด, น.ส.พลอยลดา ขันแข็ง เลขที่ 55…
สรุปการพยาบาลระบบหัวใจและหลอดเลือด
CHF
หน้าที่ของหัวใจ
หัวใจซีกขวารับเลือดที่ใช้แล้วจากร่างกายแล้วนำไปฟอกที่ปอด
หัวใจซีกซ้ายรับเลือดที่มีออกซิเจนร่างกายแล้วสูบฉีดไปเลี้ยงร่างกาย
ลิ้นปิดเปิดในหัวใจมี 4 ลิ้น มีตำแหน่งอยู่ระหว่างหัวใจห้องบนนและหัวใจห้องล่างและที่เส้นเลือดหลักในหัวใจลิ้นหัวใจทำหน้าที่กั้นเพื่อให้การสูบฉีดโลหิต
ไหลไปในทิศทางเดียว
ในขณะที่ร่างกายพักผ่อน หัวใจจะมีอัตราการเต้นประมาณ 60-100 ครั้งต่อนาทีการเต้นหรือการบีบตัวแต่ละครั้งเกิดจากตัวกระตุ้นทางกระแสไฟฟ้าซึ่งถูกกระตุ้นโดยเซลล์พิเศษที่ชื่อ SA node กระแสไฟฟ้าที่ถูกกระตุ้นจาก SA node จะเดินทางผ่านชุดเส้นใยนำไฟฟ้าที่อยู่ทั่วทั้งห้องหัวใจซึ่งเป็นสาเหตุของการบีบตัวของ
กล้ามเนื้อหัวใจ
เป็นกลุ่มอาการที่เป็นผล
มาจากความผิดปกติทางโครงสร้างหรือการทำงานของหัวใจทำให้มีผลต่อ hemodynamic หรือหัวใจไม่สามารถสูบฉีดเลือดได้อย่างเพียงพอกับความต้องการ
ของร่างกาย
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยง
1.Abnormal loading condition
เป็นภาระที่หัวใจต้องรับภาระหนักอย่างผิดปกติ
pressure load/ volume overload
2.Abnormal muscle function
เป็นภาวะที่กล้ามเนื้อหัวใจทำหน้าที่ผิดปกติ
cardiomyopathy
3.Limited ventricular filling
เป็นความจำกัดในการคลายตัวรับเลือดของ ventricle
hypertrophic obstructive cardiomyopathy
สาเหตุและปัจจัยที่มีผลจากโรคและภาวะต่างๆดังนี้
1.ACS; MI
2.ความดันโลหิตสูง
3.ลิ้นหัวใจผิดปกติ (VHD)
4.Dilated cardiomyopathy (DCM)
5.หัวใจพิการแต่กำเนิด
6.โรคอ้วน เบาหวาน
7.หยุดหายใจขณะหลับ (sleep apnea)
8.ยาที่มีพิษต่อกล้ามเนื้อหัวใจ
9.Right ventricular pacing
10.โลหิตจาง ติดเชื้อ ตั้งครรภ์
11.Specific cardiomyopathy
1) alcohol cardiomyopathy
2) atrial fibrillation induced cardiomyopathy
3) diabetes cardiomyopathy (ischemia)
ชนิดของภาวะหัวใจล้มเหลว
ชนิดหัวใจล้มเหลวในการบีบตัวและหัวใจล้มแหลวในการคลายตัว
ชนิดหัวใจล้มเหลวข้างซ้ายและข้างขวา
การพยาบาล
ให้นอนพักบนเตียง
ให้ออกซิเจน
ให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง
เพิ่มประสิทธิภาพในการบีบตัวของหัวใจโดยดูแลผู้ป่วยให้รับยากลุ่มไดจิตาลิส ตามแผนการรักษา
และระวังพิษของยา
ดูแลให้ไดรับยาเพิ่มความดันโลหิต ยาขยายหลอดเลือด ตามแผนการรักษาของแพทย์
เฝ้าระวังอาการที่ผิดปกติ โดยวัดสัญญาณชีพ การสังเกตอาการหอบเหนื่อย บวมตามร่างกายว่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง ไม่ควรลดบวมด้วยการยกขาสูง การชั่งน้ำหนักทุกวัน
ลดการคั่งของน้ำในร่างกายโดยการจำกัดน้ำ
จำกัดอาหหารรสเค็ม ดูแลให้ยาขับปัสสาวะ
ชนิดหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันและเรื้อรัง
การประเมินระบบหัวใจและทรวงอก
การซักประวัติ
อาการสำคัญ : Dyspnea, Hypoxemia, Palpitations, Chest pain, Syncope, Pitting Edema
ควรซักถามเกี่ยวกับอาการที่เกิดขึ้นทุกอาการ ลักษณะของอาการ ความถี่ของการเกิดอาการนั้นๆ ระยะเวลาที่มีอาการ ปัจจัยกระตุ้นและวิธีการบรรเทาอาการ การรักษาที่ได้รับ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีตที่เกี่ยวข้องหรือ สัมพันธ์กับระบบหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน
การตรวจร่างกายระบบหัวใจ
ขั้นตอนในการตรวจควรประกอบด้วย
การดู การคลำ การเคาะและการฟัง
การดู
ดูลักษณะทั่วๆไป
ดูลักษณะการหายใจ
ดูลักษณะการเขียว เล็บปุ้ม ริมฝีการปาก
ดูอาการซีด หรือโลหิตจางโดยตรวจที่ conjunctiva
การดูหลอดเลือดดำที่คอหลอด
เลือดที่ใช้ดู คือ internal jugular vein
การดูลักษณะทรวงอกและยอดการเต้นของหัวใจ
การคลำ
การคลำชีพจรของผู้ป่วย
การคลำยอดของหัวใจ
การคลำ heave/ lift
การคลำ thrill
การเคาะ
ไม่นิยม
การฟัง
การฟังหัวใจอาจตรวจในท่านอนหงาย นอนตะแคงซ้ายและท่านั่งครั้งแรกจะฟังเสียง
การฟังเสียง Murmur หรือเสียงฟู่ คือเสียงที่เกิดจากความปั่นป่วนของกระแสเลือดที่ต้องผ่านรูแคบๆ
การตรวจจะต้องเป็นการตรวจในห้องที่มิดชิด ผู้ตรวจจะอยู่ทางขวาของผู้ป่วยเสมอ
ACS
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง
อาจมีภาวะเจ็บหน้าอกจากสาเหตุอื่น
ต้องซักประวัติอาการเจ็บหน้าอกให้
ชัดเจนมีหลายสาเหตุ เช่น
กระดก
กล้ามเนื้อหน้าอก
ผิวหนัง
ทางเดินอาหาร
ปอด
หัวใจ
การตรวจวนิจฉัย
การสอบถามซักประวัติ
การตรวจร่างกาย เช่น การจับชีพจร การฟังเสียงการเต้นของหัวใจ
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (Electrocariogram : ECG,EKG)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (Troponin I, Troponin T, CK-MB, SGOT, SGPT, LDH)
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (CXR)
การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ (Echocardiography)
การเดินสายพาน (Exercise Stress Test : EST)
การตรวจสวนหัวใจ หรือการฉีดสี (Coronary Angiogram : CAG)
วิธีการรักษา
การรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือด (Anti-Thrombolytic)
การรักษาด้วยวิธีการท าบอลลูน ถ่างขยายหลอดเลือดและใส่ขดลวด
(Percutaneous Coronary Intervention : PCI with Stent)
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด (Coronary Artery Bypass Graft: CABG)
น.ส.พลอยลดา ขันแข็ง เลขที่ 55 รหัสนักศึกษา62111301057