Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคเลือดและองค์ประกอบของเลือดในหญิงตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคเลือดและองค์ประกอบของเลือดในหญิงตั้งครรภ์
ผลของโรคโลหิตจางต่อการตั้งครรภ์ต่อสตรีตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
pre- eclampsia, high risk of infection และ abruptio placenta
ระยะคลอด
Congestive heart faliure-Acute blood loss และ shock
ระยะหลังคลอด-Low resistance-Venous thrombosis Postpartum hemorrhage
ผลของโรคโลหิตจางต่อการตั้งครรภ์ ต่อทารกในครรภ์
*แท้งหรือคลอดก่อนกำหนด.
*ทารกตายในครรภ์
*ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์เกิด
*ภาวะขาดออกซิเจนในระยะคลอดได้ง่าย
*อัตราตายของทารกเพิ่มขึ้น
*พิการ..
โลหิตจางจากการขาดสารอาหาร
สาเหตุ
ได้รับสารอาหารจำพวกธาตุเหล็กลดลง
การเสียเลือดอย่างต่อเนื่อง
การตั้งครรภ์แฝด
อาการ
เหนื่อยอ่อนเพลีย
เยื่อเมือกลิ้น หลอดอาหารฝ่อ
spoon nails
Congestive heart failure
การป้องกันและการรักษา
-การป้องกันโดยให้ธาตุเหล็กเสริม >> ครรภ์เดี่ยว 30 mg / day
ครรภ์แฝด 60-100 mg / day
การรักษา-ให้ธาตุเหล็กเสริมวันละ 200 mg หรือวันละ 3 เม็ดให้เลือดในรายที่มีภาวะซีดมากแล้วหรือภายหลังได้รับการทำหัตถการหรือมีภาวะ hypovolemia
-ในรายที่มีปัญหา hypovolemia ควรให้ pack red cell หรือ whole blood พยอมสิน ธ ศิริการพยาบาลมารดาที่มีโรค
โลหิตจางจากการขาดโฟเลต (Folic acid deficiency anemia)
อาการและอาการแสดง
Conjunctival pale
Nausea and vomiting, Anorexia, Starvision
Edema of joint
Palpitation
Glossitis
สาเหตุ
ขาดสารอาหารที่มีโฟเลตให้เพียงพออาหารดังกล่าว ได้แก่ ผักสดและโปรตีน
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคเสริมระหว่างตั้งครรภ์ 400ug / day ตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์
ในรายที่บุตรคนก่อนเป็น NTD ให้กรดโฟลิคเสริม 4 mg / day อย่างน้อย 3 เดือนแรกก่อนการตั้งครรภ์การรักษา >> กรดโฟลิกเสริม 1 mg / day
โลหิตจางทาลัสซีเมียในสตรีตั้งครรภ์
อาการและอาการแสดง
Thalassemia facies
Dysmature
Hemochromatosis
Cardiac arrythmia
การป้องกันและการรักษา
0 ตรวจคัดกรองทุกรายและให้คำปรึกษาด้านพันธุกรรมในรายที่มีภาวะเสี่ยง
o การวินิจฉัยก่อนคลอด (prenatal diagnosis) ในรายที่มีภาวะเสี่ยงสูง
0 รักษาระดับฮีโมโกลบินระหว่าง 7-10 g / dl และให้ pack red cel ในรายที่ซีดมาก
0 ในรายที่มีภาวะเหล็กเกินควรให้ยาขับเหล็กยาที่นิยมคือ desferioxamine ขนาดไม่เกิน 6 mg ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
O ติดตามภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์และเฝ้าระวังการเจริญเติบโตช้าในครรภ์
เลือกวิธีคลอดที่ปลอดภัยและเสียเลือดที่น้อยที่สุดคือการคลอดเองทางช่องคลอด ให้คำแนะนำการวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิด
การพยาบาล
การคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโดยการตรวจหา Hb. Typing คู่สมรสทุกราย
แนะนำคู่สมรสมรสที่เป็นโรคหรือพาหะให้ทราบถึงลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรม-ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการติดเชื้อการทำงานของหัวใจล้มเหลว
O ดูแลให้ผู้คลอดและทารกในครรภ์คลอดโดยวิธีปลอดภัยที่สุดและเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังคลอดน้อยที่สุด
O อัตราส่วนการถ่ายทอดทางพันธุกรรมเท่ากับ 1: 4 จึงต้องมีการติดตามความผิดปกติของทารกต่อไปในรายที่เป็นภาหะนำโรคหากมีบุตรเพียงพอแล้วควรแนะนำให้คุมกำเนิดแบบถาวร
O ให้คำแนะนำเรื่องการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและวิตามินสูงหลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กหรือการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็กใช้โฟลิคแอซิดแทนเนื่องจากภาวะเหล็กเกินในร่างกาย