Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกที่มีความเสี่ยงสูง, นางสาวเต็มศิริ ก้อนทิพย์ เลขที่ 31…
การพยาบาลทารกที่มีความเสี่ยงสูง
จำแนกประเภททารกแรกเกิด
จำแนกตามน้ำหนักแรกเกิด
ทารกมีน้ำหนักตัวน้อย คือแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม
ทารกมีน้ำหนักตัวต่ำกว่า1500 กรัม
ทารกมีน้ำหนักตัวต่ำกว่า 1000 กรัม
ทารกมีน้ำหนักตัวปกติ 2500-4000 กรัม
จำแนกตามอายุครรภ์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
คือ ทารกที่มีอายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็มหรือ ต่ำกว่านี้
ทารกเกิดครบกำหนด
คือ ทารกที่มีอายุครรภม์ากกว่า 37 สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์เต็ม
ทารกแรกเกิดเกินกำหนด
คือ ทารกที่เกิดเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
ทารกคลอดก่อนกำหนด
สาเหตุหรือปัจจัยเสริม
มารดาอายุน้อยกว่า 18 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
โรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ
มีประวัติเคยคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายตัวมากเกินไป
ติดเชื้อในร่างกาย
ใช้สารเสพติดขณะตั้งครรภ์
ทารกในครรภ์มีโคโมโซมผิดปกติหรืออาจมีการติดเชื้อ
ลักษณะของทารกที่คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย ตัวเล็ก ศีรษะมีขนาดใหญ่ ตาบวมและนูนออกมา การเจริญของกระดูกใบหูมีน้อย ผิวหนังจะบางและแดง พบขนอ่อนที่ใบหน้าและหลัง ลายฝ่าเท้าฝ่ามือมีน้อย มีกล้ามเนื้อและไขมันใต้ผิวหนังน้อย
หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการกลั้น หายใจเป็นระยะ
มีการเคลื่อนไหวน้อยการเคลื่อนไหวสองข้างไม่พร้อมกันและมักเป็นแบบกระตุก
เสียงร้องเบาและร้องน้อยกว่าทารกแรกเกิดครบกำหนด reflex ต่าง ๆ มีน้อยหรือไม่มี
หัวนมมีขนาดเลก็หรือมองไม่เห็นหัวนม
ท้องป่องเพราะกล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
มีขนาดอัณฑะเล็ก อัณฑะจะยังไม่ลงถุงอัณฑะ มีรอยย่นน้อย ในเพศหญิงจะเห็นแคมเล็กชัดเจน
ปัญหาที่พบได้ในเด็กที่คลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภมูิของร่างกาย
ทารกแรกเกิดจะไวต่ออุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลง
ศูนย์ควบคุมอุณหภมูิร่างกายที่hypothalamus, CNSเจริญเติบโตไม่เต็มที่
การสูญเสียความร้อนในทารกแรกเกิด
การนำ (conduction) เกิดจากผิวของทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น
การพา (convection) เป็นการพาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อม ที่เย็นกว่า
การแผ่รังสี(radiation) การสูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่า แต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
การระเหย (evaporation) การสูญเสียความร้อน เมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้า
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
ทางทวารหนัก
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซม.
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ
หมายถึงอุณหภมูิกายต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรกคือ มือเท้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัว ซึม
ภาวะอุณหภูมิร่างกายสูง
หมายถึง อุณหภูมิกายสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรกคือจะหงุดหงิดเมื่อร้อนขึ้น มีการเคลื่อนไหวลดลง หายใจเร็วและแรง หรือหยดุหายใจ ซึม
ระบบการไหลเวียนโลหิต
การหายใจของทารกแรกเกิดเปลี่ยนจากรกเป็นปอด
Fetal circulation เป็น Neonatal
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
(Patent Ductus Arteriosus)
อาการและอาการแสดง
หายใจเร็ว
หอบเหนื่อย
รับนมได้น้อย
ท้องอืด
น้ำหนักไม่ขึ้น
การรักษา
การรักษาทั่วไป ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
การรักษาจำเพาะ
โดยใช้ยา เพื่อช่วยยับยั้งการสร้าง prostaglandin
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
(Hyperbilirubinemia)
เกิดจากบิลลิรูบิน (bilirubin) ในเลือดสูงกว่าปกติ
สาเหตุ
มีการสร้างบิลลิรูบินเพิ่มขึ้นมากกว่า
มีการดูดซึมของบิลิรูบินจากลำไส้มากขึ้น จากภาวะต่างๆ เช่น ภาวะลำไส้อุดตัน
มีการกำจัดบิลิรูบินไดน้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน การขาดเอนไซด์บางชนิดแต่กำเนิด
มีการสร้างบิลิรูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
การรักษา
การส่องไฟ (phototherapy)
การเปลี่ยนถ่ายเลือด (exchange transfusion)
ระบบการหายใจ
Respiratory Distress Syndrome (RDS)
คือภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
พบได้บ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนดที่GA<34-36 wks น้ำหนักตัว < 1,500 gm.
ปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอดก่อนกำหนด
ทารกมีภาวะ hypothermia, Perinatal asphyxia
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
สาเหตุ
เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
อาการและอาการแสดงอาการ
หายใจเร็ว (tachypnea) มากกว่า 60 ครั้ง / นาทีหรือหายใจลำบาก (dyspnea)
หน้าอกปุ่ม (retraction) บริเวณ Intercostal, Subcostal และ Substernal retraction จากการหดตัวอย่างแรงของกลา้มเนื้อที่ช่วยหายใจ
ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
ซึม กระสับกระส่าย reflex ลดลงกระหม่อมโปร่งตึง
ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
Hypoglycemia ภาวะ acidosis
Perinatal asphyxia
เป็นภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
สาเหตุ
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด ได้แก่ศีรษะทารกไม่ได้สัด ส่วนกับเชิงกรานมารดา คลอดติดไหล่ความผิดปกติของสายสะดือ
ปัจจัยทางด้านมารดา ได้แก่ ตกเลือด อายุมาก
ปัจจัยเกี่ยวกับ ทารกได้แก่ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
Apnea of prematurity
(AOP)
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที ร่วมกับ มีcyanosis
central apnea ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอกหรือกะบังลม และไม่มีอากาศไหลผ่านรูจมูกโดยมีสาเหตุมาจากศนูย์การหายใจที่บริเวณก้านสมองทำงานได้ไม่ดี
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
เลือดออกในช่องสมอง (Intraventricular hermorrhage: IVH)
คือภาวะเลือดออกในโพรงสมอง
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
เป็นโรคปอดเรื้อรัง
จอประสาทตาผิดปกติ (Retinopathy of Prematurity :ROP)
การงอกผิดปกติของเส้นเลือด (neovascularization) บริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตาที่มีเลือดไปเลี้ยงและจอประสาทตาที่ขาดเลือด
ระบบภูมิคุ้มกัน
ทารกคลอดก่อนกำหนด
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
เม็ดเลือดขาวมีน้อย จึงทำหน้าที่ในการกำจัดเชื้อโรค(phagocytosis) ไม่สมบูรณ์
Sepsis
อาการและอาการแสดง
ในทารกไม่จำเพาะเจาะจง
อาจตรวจพบความผดิปกติในระบบต่างๆ เช่น - ซึม ร้องนาน ไม่ดูดนม ซืด
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ส่วนมากให้Ampicillin iv กับ Gentamycin iv
ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็นกลุ่ม Cephalosporins iv
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
คือภาวะลำไส้เน่าอักเสบ
เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือด
สาเหตุ ได้แก่การใช้ยาของมารดาขณะตั้งครรภ์การคลอดก่อนกำหนด
ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถทำใหท้ารกแรกเกิดมีโอกาสเกิดภาวะลำไส้เน่าตายได้แก่
มารดาใช้สารเสพติดระหว่างตั้งครรภ์
ทารกติดเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด
การเติบโตช้าในครรภ์
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน(hypoxia)
น้ำหนักตัวทารกน้อยกว่า 2,000 กรัม
Gastroesophageal reflux (GER)
นางสาวเต็มศิริ ก้อนทิพย์ เลขที่ 31 (62111301032)