Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกเเรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกเเรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
ทารกเเรกเกิด
อายุในช่วง 28 วันเเรกของชีวิต
มีอัตราการตายเเละอัตราการ
เจ็บป่วยมากกว่าวัยอื่น
การจำเเนกประเภท
ของทารกเเรกเกิด
ตามน้ำหนักเเรกเกิด
มีน้ำหนักน้อย
ทารกที่มีน้ำหนักเเรกเกิด
ต่ำกว่า 2500 กรัม
Very low birth weight
น้ำหนักต่ำกว่า 1500 กรัม
Extreme low birth weight
น้ำหนักต่ำกว่า 1000 กรัม
มีน้ำหนักปกติ
ทารกที่มีน้ำหนักเเรกเกิด
2500-4000 กรัม
ตามอายุครรภ์
preterm infant
ก่อน 37 week
mature infant
37 week- 41 week
post term infant
เกิน 41 week
สาเหตุ/ปัจจัยส่งเสริม
มารดาอายุ< 18 ปีหรือ> 35 ปี
โรคประจำตัว
เบาหวาน
ความดันโลหิต
ติดเชื้อในร่างกาย
ลักษณะของทารกเเรกเกิด
หายใจไม่สม่ำเสมอ
และหยุดหายใจได้ง่าย
ศีรษะใหญ่เมื่อเทียบกับลำตัว
น้ำหนักตัวน้อย
เสียงร้องเบา
รีเฟล็กซ์น้อย
หัวนมเล็ก
ลายฝ่ามือฝ่าเท้าน้อย
รูปร่างเเขนขาเล็ก
ปัญหาที่พบในทารก
คลอดก่อนกําหนด
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การสูญเสียความร้อน
การนำ(conduction)
ผิวสัมผัสกับวัตถุเย็น
การพา(convection)
พาความร้อนจากทารกไปอากาศเย็น
การแผ่(radiation)
เสียความร้อนไปที่เย็นกว่า (ไม่สัมผัสวัตถุ)
การระเหย(evaporation)
เสียความร้อนเมื่อ
ของเหลวเปลี่ยนเป็นไอน้ำ
เช็ดตัว
เหงื่อออกมาก
Hypothermia(อุณหภูมิต่ำ)
ต่ำกว่า 36.5องศา(ประมาณ 36.8-37.2)
มือเท้าเย็นซีด ซึม ดูดนมช้าน้อยลง ผิวหนังลาย
Hyperthermia(อุณหภูมิสูง)
สูงกว่า 37.5 องศา
หงุดหงิด หายใจแรงและเร็วหรือ หยุดหายใจ
ผิวหนังอุ่นกว่าปกติ
การวัดอุณหภูมิ
ทวารหนัก
คลอดก่อนกำหนด
ปกติ
3 นาที 2.5 ซม.
รักเเร้
คลอดก่อนกำหนด
นาน 5 นาที
ปกติ
นาน 8 นาที
การดูเเล
จัดให้อยู่ในที่อุ่น (32-34องศา)
วัดอุณหภูมิ(BodyTem)36.8-37.2องศา
Air Servocontrol mode
วัดได้36.8-37.2องศา 2 ครั้ง ติดกัน ให้ปรับ
แล้วติดตามทุก 15-30min อีก 2 ครั้งแล้วต่อไปทุก4 hr.
ตู้อบเริ่ม 36 องศา เพิ่ม ขึ้นทีละ 0.2 องศา
ติดตามทุก 15-30min
Skin Servocontrol mode
ติดSkin probe ตรงหน้าท้อง
เริ่ม 36.5 องศา เพิ่ม ขึ้นทีละ 0.1 องศา
นอกนั้นเหมือนAir Servocontrol mode
ต้อง Keep warm
ระวัง Cold stress
ปรับอุณหภูมิห้อง(25-26องศา)
ป้องกันการสูญเสียความร้อน
ดูอุณหภูมิ 4 hr.และปรับให้เหมาะกับทารก
ระบบไหลเวียนโลหิต
Patent Ductus Arteriosus:
ภาวะหลอดเลือดหัวใจเกิน
อาการ
หายใจเร็วเหน่อย รับนมได้น้อย ท้องอืด(เลือดลัดไปปอด
เลือดไปเลี้ยงลําไส้ได้น้อย) ได้ยินเสียงMurmur
การรักษา
รักษาทั่วไป ใช้ยาควบคุมภาวะหัวใจวายเมื่อมีอาการ
รักษาจำเพาะ
ใช้ยาช่วยยับยั้ง prostaglandin
ข้อห้ามใช้
Indomethacin
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr. นานกวา่ 8 hr.
Ibuprofen
BUN > 20 mg/dl , Cr > 1.6 mg/dl
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
: Hyperbilirubinemia
Bilirubinในเลือดสูง
เเบ่งเป็น 2 ชนิด
Physiological jaundice:
เหลืองจากสรรีภาวะ
สร้างBilirubinมาก : RBCอายุสั้นและตับ
การทํางานไม่สมบูรณ์ ทําให้การขับBilirubinได้ช้า
Pathological jaundice
: เหลืองจากพยาธิภาวะ
Bilirubinมากกว่าปกติและเหลืองเร็ว
การรักษา
ส่องไฟ : phototherapy
เปลี่ยนถ่ายเลือด : exchange transfusion
สาเหตุ
สร้างBilirubinมากกว่าปกติ
จากการทําลายRBC
หมู่เลือดของแม่ลูกเข้ากันไม่ได้incompatability
ผิดปกติของเยื่อหุ้ม RBCทําให้เเตกง่าย
ผิดปกติที่Enzyme ของ RBC
เลือดออกในร่างกาย
RBC เกิน
ธาลัสซีเมีย
มีการดูดซึมBilirubinจากลําไส้มากขึ้น
กําจัดBilirubinได้น้อยลง(ท่อน้ำดีอุดตัน,ขาดEnzyme)
ดูดซึมBilirubinจากลําไส้มากขึ้นจากการเลี้ยงลูกด้วยนมแม
สร้างBilirubinเพิ่มร่วมกับกําจัดได้น้อย
Bilirubinในเลือดสูงจับกับเนื้อสมองด้านใน
ทําให้เกิดความผิดปกติ : Kernicterus
อาการระยะเเรก
เกร็ง แอ่นหลัง ชัก ไข้ ดูดนมได้น้อย ซึม
อาการระยะยาว
move ร่างกายและแขนขาผิดปกติ การเคลื่อนไหว
ของตาและการได้ยินผิดปกติ พัฒนาการช้าสติปัญญาลดลง
การพยาบาลการส่องไฟ
และเปลี่ยนถ่ายเลือด
ปิดตาด้วยผ้า(eyes patches)ป้องกันระคายเคือง
เช็ดทําความสะอาดตาและตรวจทุกวันเพราะอาจมีการระคายเคือง
ควรเปิดดตาทุก 4 hr. และเปลี่ยนทุก 8-12 hr.
ถอดเสื้อผ้าและจัดท่านอนหงายหรือคว่ำเปลี่ยน
ทุก 2 hr.เพื่อให้ได้รับแสงทั่ว
สังเกตอุจจาระถ้าถ่ายบ่อยขึ้นอาจมีอาการถ่ายเหลวปนเหลืองจากBilirubinและน้ำดี
ดูแลให้ได้นอนบริเวณตรงกลางของไฟห่าง35-50cm
บันทึกและรายงานการเปลี่ยนแปลงV/S ทุก 1-4hr.
สังเกตภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการส่องไฟ
บันทึกและสังเกตการอุจจาระเพื่อประเมินการสูญเสียน้ำ
ดูเเลให้ได้รับการตรวจเลือดหาBilirubinอย่างน้อยทุก 12hr.เพื่อดูความก้าวหน้า
เตรียมอุปกรณ์ฟื้นคืนชีพให้พร้อม
ขณะเปลี่ยนถ่ายต้องบันทึกI/O check V/S
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
ระบบภูมิคุ้มกัน
คลอดก่อนกำหนด
WBCน้อย ทําให้ทำาหน้าที่กําจัดเชื้อโรคไม่ดี
สร้างIgMยังไม่สมบูรณ์, ได้รับ IgE จากมารดาขณะในครรภ์น้อย
ผิวหนังบางepidermis และ dermis หลวม ทําให้ถูกทําลายง่าย
Sepsis
เเบ่งได้เป็น 2 ประเภท
Early onset
ติดเชื้อก่อน/ระหว่างคลอด แสดงอาการใน2-3วันแรกหลังคลอดใน 72 hr.แรก
Late onset
ติดเชื้อหลังแสดงอาการหลัง 72 hr.-1m
สาเหตุ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกําหนด 18hr.
คลอดล่าช้า
มารดาติดเชื้อ น้ำคร่ำมีกลิ่น
ทารกพร่องออกซิเจนในครรภ์
อาการ
อาจตรวจพบความผิดปกติ
สั่น ชัก
ซึม 😕 ร้องนาน😭
ซีด ไม่ดูดนม
ผิวหนังเย็น
หายใจเร็ว ลำบาก
ท้องอืด อาเจียน🤮
การรักษา
ให้ยาAntibioticที่เหมาะสมกับ sensitivity
ส่วนมากให้Ampicillin กับGentamycin IV
ถ้าไม่ได้ผลให้ Cephalosporins IV
การพยาบาล
ประเมินภาวะติดเชื้อ
ดูเเลให้ได้รับ antibiotic เเละสังเกตอาการข้างเคียง
ควบคุมอุณหภูมิให้ปกติ
ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม
ติดตามผล Lab
แยกทารก
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis(NEC)
เป็นภาวะลําไส้เน่าอักเสบ มักเกิดที่ลำไส้เล็กและใหญ่
ในทารกที่มีน้ำหนักตัวน้อย
ปัจจัยเสี่ยง
ทารกติดเชื้อ Bacteria
คลอดก่อนหรือมีปัญหาระหว่างทําคลอด
ทารกเกิดภาวะออกซิเจน(hypoxia)
น้ำหนักน้อย
หัวใจ❤️พิการตั้งเเต่กำเนิด
ให้นมผสมที่มีความเข้มข้นสูง
ทารกเกิดภาวะเลือดข้น(polycythemia)
เติบโตช้าในครรภ์
อาการ
ซึม ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้อ งกวน
อาการเฉพาะ
ท้องอืด ถ่ายเหลว เลือดในทางเดินอาหาร อาเจียนเป็นสีน้ำดี
การรักษา
ระงับสิ่งกระตุ้นทําให้เกิดการอักเสบ (NPO)
Antibiotic ระงับการติดเชื้อ
พยุงระบบไหวเวียนโดยการให้สารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากระตุ้นความดัน(Vasopressor)
เฝ้าการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
V/S
I/O
การแข็งตัวของเลือด
วิธีการรักษา
การใส่ท่อระบายช่องท้อง
การผ่าตัดแบบ
เปิดสํารวจช่องท้อง
หลังจากผ่าตัด
ต้องเฝ้าฟื้นฟูร่างกายให้กลับมาเป็นปกติ โดยดู BP IV fluid ดูภาวะติดเชื้อ การแข็งตัวของเลือด หากไม่มีอาการแทรกซ้อน
แพทย์เริ่มให้อาหารผ่านทางเดินอาหารกับทารก
Hypoglycemia
อาการ
ซึม ไม่ดูดนม สั่น ผวา ซีด/เขียว หยุดหายใจ ชักกระตุก
ทารกไม่มีอาการ
อายุ4-24 hr. ให้นมทุก 2-3hr. และติดตามก่อนให้นม
ถ้าระดับมันน้อยกว่า 35 มล /ดล ให้สารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
ถ้าระดับมันน้อยกว่า 35 มล /ดล ให้นมและติดตามใน 1hr.
ระดับ35-45 มล/ดล ให้นมหรือสารละลายกลูโคสทางหลอดเลือด
แรกเกิด-อายุ4hr.ให้นมภายใน1hr.แรกติดตามระดับน้ำตาลในเลือด30minหลังให้นมมื้อแรก
ถ้าระดับมันน้อยกว่า 25 มล /ดล ให้นมและติดตาม 1 hr.
ถ้าระดับมันน้อยกว่า 25 มล /ดล ให้สารละลาย กลูโคสทางหลอดเลือด
ระดับ25-40 มล /ดล ให้นมหรือสารละลาย กลูโคสทางหลอดเลือด
กรณีที่เสี่ยงน้ำตาลในเลือดต่ำต้องตรวจภายใน 1-2hr.หลังคลอดและติดตามทุก 1-2hr. ใน 6-8hr.แรกหรอื จนระดับน้ำตาลปกติ รีบให้ 5,10%D/W ทางปาก หรือNG Tube ใน1-2มื้อแรก แล้วให้นม
กรณีถ้าน้ำตาลในเลือดต่ำ ควรติดตามทุก 30 min
ในรายที่ไม่แสดงอาการ ให้นมหรือ
สารละลายกลูโคส ถ้ากินไม่ได้ให้ทางหลอดเลือดดํา
ควบคุมอุณหภูมิห้องให้อบอุ่นแก่ทารก
สังเกตอาการเปลี่ยนแปลง
น้ำตาลในเลือดต่ำ40 mg% (term)
น้ำตาลในเลือด35 mg% (preterm)
Meconium aspiration syndrome
(MAS)
ภาวะที่ทารกในครรภ์สูดหรือ
หายใจเอาขี้เทาเข้าปอดหรือหลอดลม
การถ่ายขี้เทาออกปนในน้ำคร่ำ
เกิดได้ 2 ลักษณะ
ทางพยาธิสรีระวิทยาปกติ
การเคลื่อนตัวของลําไส้
ที่พัฒนาสมบูรณ์แล้ว
ทางพยาธิสรีระวิทยาไม่ปกติ
เกิดความผิดปกติของรกและทารกที่
ตอบสนองต่อความเครียดที่เกิดจากความผิดปกติ
แนวทางการรักษา
ให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
พิจารณาให้ยาตามอาการเพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจน
พิจารณาให้ยาขยายหลอดเลือดไปในปอด(กรณีที่มีความดันในปอดสูง)
ให้ยาAntibiotic ในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลว
ให้ยาAntibiotic ในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลว
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน(ลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอดและภาวะความดันในปอดสูง)
การพยาบาล
สิ่งสําคัญเพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ดูแลติดตามให้ออกซิเจน ติดตามอาการแสดงของการขาดออกซิเจน
วัด BPทุก 2-4hr. เฝ้าระวังการเกิดBPต่างจาก PPHN
รบกวนทารกน้อยสุด
สังเกตอาการติดเชื้อ
ปัญหาที่พบในเด็กก่อนกำหนด
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
(Respiratory Distress Syndrome) RDS
การป้องกัน
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน โดยลดความเข้มข้นและลดอัตราการไหล
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ภาวะจอประสาทตาพิการจากการคลอดก่อนกำหนด (Rop)
ภาวะปอดอุดกลั้นเรื้อรัง (BPD)
ให้สาร Surfactant เพื่อทำให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น ลดความรุนแรงของภาวะหายใจลำบาก
ให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก
การรรักษา
มารดามีความเสี่ยงคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก ควรได้รับ antenatal corticosteroids อย่างน้อบย 24 ชั่วโมงก่อนคลอดเพื่อกระตุ้นการสร้างสาร Surfactant และให้ปอดมีความสมบูรณ์มากขึ้น
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Betamethazone 12 mg ทางกล้ามเนื้อทุก 24 ชั่วงโมงจนครบทั้ง 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 mg ทางกล้ามเนื้อทุก 24 ชั่วงโมงจนครบทั้ง 4 ครั้ง
2, ป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด ซึ่งจะทำให้เกิดเป็น กรด ขวางการทำงานนของการสร้างสาร Surfactant
Perinatal asphyxia ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
การรรักษาประคับประคองและการรักษาตามอาการที่สำคัญที่สุด
ให้ออกซิเจนที่เหมาะสม
งดอาหารทางปากชั่วคราว ให้สารน้ำ2อาหารทางหลอดเลือด
ให้ความอบอุ่นและการควบคุมทารกให้อุณหภูมิปกติ
ให้เลือด ถ้าความเข้มข้นของหลอดเลือดต่ำหรือเสียเลือด
สังเกตอาการอย่างไกล้ชิดและต่อเนื่อง
หลังให้ 12 ชั่วโมง ให้ระวังการชัก
พิจารณาให้ antibiotic
ระมัดระวังภาวะแทรกซ้อนต่าง
ผลของการขาดออกซิเจนแรกคลอด
ระบบประสาทส่วนกลาง
ภาวะชักจาก cortext ของสมองถูกทำลาย
ภาวะสมองบวมจากการคั่งของสารน้ำภายในและนอกเซลล์
เลือดออกในสมองจากหลอดเลือดและสมองเสียหาย
ระบบขับถ่าย
ไตจะไวต่อภาวะขาดออกซิเจน ทำให้หลอดเลือดฝอยของไต เนื้อไตเกิดเป็นเนื้อตายปัสาวะลดลงใน 48 ชั่วโมง หลังคลอดหรือปัสสาวะเป็นเลือด
ระบบหายใจ
เนื้อเยอื่ขาดออกซิเจนมากทำให้เซลล์ถุงลมไม่สามารถสร้างสาร Surfactant
อาจทำให้เกิดภาวะน้ำคั่งปอดได้
ถ้าถูกกดทำให้หายใจช้าหรือหยุดหายใจ
เป็นเนื้อตายปัสาวะลดลงใน 48 ชั่วโมง หลังคลอดหรือปัสสาวะเป็นเลือด
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ Bilirubin สูงทำให้มีการดูดซึมเพิ่มขึ้้น
เลือดไปเลี่ยงระบบทางเดินอาหารลดลง ทำให้เกิดภาวะลำไส้เน่า
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
อาจทำให้เกิดภาวะหัวใจวาย
การลดลงของไกลโคเจนทำให้การทำงานลดลง BP ต่ำจากภาวะช็อกของหัวใจ
หัวใจถูกกดเป็นผลให้หัวใเต้นช้าลง
ภาวะแทรกซ้อนจาการได้รับออกซิเจน
เลือดออกในช่องสมอง มักเกิดในทารก
คลอดก่อนกําหนด ที่มีRDS รุนแรงและต้องช่วยหายใจ
รายที่มีเลือดออกมาและเร็วทารกจะทรุดเร็วหมดสติชักเกร็ง หยุดหายใจ ซีด และกระหม่อมหน้าโป่งตึง
รายที่เลือดออกไม่มาก อาจไม่ซีด
บางรายอาจซึม กล้ามเนื้ออ่อนแรงเป็นพักๆ
โดยความรุนแรงของIVH มี 4ระดับ
Grade 1
เลือดออกที่ germinal matrix
Grade 2
เลือดออกที่โพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองปกติ
Grade 3
เลือดออกที่โพรงสมอง และขนาดของโพรงสมองปกติ
Grade 4
เลือดออกในโพรงสมอง สมองร่วมกับเลือดออกในเนื้อสมอง
(Bronchopulmonary Dysplasia: BPD)
ปอดอุดกั้นเรื้อรัง
[พบในทารกคลอดก่อนกําหนดRDS หรือ
ต้องการออกซิเจนความเข้มข้นสูงเกิน 60%และใช้
เครื่องช่วยหายใจนานกว่า 24 hr.
ตามสาเหตุ
ตามอาการ
ให้ยาขยายหลอดลม
รักษาภาวะแทรกซ้อน
ฟื้นฟูสมรรถภาพปอด
การให้ออกซิเจน
(Retinopathy of Prematurity :ROP)
จอประสาทต่อปกติ
การงอกผิดปกติของเส้นเลือดบริเวณรอยต่อระหว่างจอประสาทตา
ที่มีเลือดไปเลี้ยงเเละจอประสาทตาขาดเลือด
การวินิจฉัย
ตรวจครั้งแรกอายุ4-6wk หรืออายุครรภ์รวมหลังเกิด32wk
ถ้าไม่พบว่า มีการดําเนินของโรค ตรวจซ้ำทุก 4wk
ถ้าพบว่ามีการดําเนินของโรคอยู่ควรตรวจซ้ำทุกอาทิตย์
ถ้าพบROP ควรนัดมาตรวจทุกๆ1-2 week
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนเท่าที่จําเป็น
ดูแลให้ทารกได้รับวิตามินอีตามแผนการรักษา
ดูแลให้ทารกได้รับการตรวจ screening ROP
ดูแลให้ได้ออกซิเจน ติดตามO2 saturation ดูแลให้มีระดับ 88-92%
ดูเเลทารกที่มีภาวะ ROPรุนเเรงเเละอยู่ในเกณฑ์ให้ได้รับการรักษาโดยเเสงเลเซอร์
Apnea of prematurity AOP
central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวอก
odstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 min หรือร่วมกับ Cyanosis
การดูแล
ดูดเสมหะเมื่อจำเป้น
จัดท่านอนให้เหมาะสม
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ระวังสำลัก
พัฒนาพฤติกรรมทางระบบประสาท
ส่งเสริมสัมพันธภาพ
ขณะมารดาอยู่ในโรงพยาบาล ส่งเสริม กระตุ้นให้มารดามาเยี่ยมทารกหลังคลอดให้เร็วที่สุด
เมื่อพ่อแม่เข้ามาเยี่ยมทารก ให้ข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย รักษาพยาบาลที่ทารกได้รับของเขตความรับผิดชอบของพยาบาลที่จะทำได้
สอนให้แม่ทราบถึงพฤติกรรมหรือสัญญาณของทารก กระตุ้นให้พ่อและแม่อุ้มหรือสัมผัส
เปิดโอกาสให้พ่อและแม่ถามข้อสงสัย รวมถึงระบายความรู้สึก
ส่งเสริมการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา
พยาบาลควรให้การดูแลเพื่อส่งเสริมพัฒนาการโดยการพํฒนาดังนี้
การจัดท่า
เลี่ยงการเหยียดแขนขาให้ทารกอยู่ในท่าแขนขางอ เข้าสู่หากลางลำตัว
ห่อตัวทารกให้แขนงอมือ 2 ข้างอยู่ใกล้ปาก เลี่ยงการห่อตัวแบบเก็บแขน
ใช้ผ้าอ้อมหรือผ้าห่มผืนเล็กม้วนวางรอบๆทารกเหมือนอยู่ในครรภ์มารดา
ส่งเสริมพัฒนาด้านประสาทสัมผัสของทารกในขณะให้การพยาบาล
จับต้องทารกท่าที่จำเป็น พยายามจัดกิจกรรมให้อยู่ในเวลาเดียวกัน ควรสัมผัสทารกก่อนหรือจับต้องเพื่อให้การรักษาพยาบาล การเคลื่อนย้ายทารกควรอยู่ในท่าแขน ขา งอ และอยู่กลางลำตัว
จัดสภาพแวดล้อมให้มีการกระตุ้นทางแสงและเสียงน้อยที่สุด
ส่งเสริมการดูดนมของทารกโดยใช้หัวนมหลอก
กรณีที่สภาพทารกไม่เหมาะสมที่จะดูดนม ส่งเสริมให้ดูดเอง ถ้าทารกมีอาการเหมาะสมก่อนให้การพยาบาลควรประเมินพฤติกรรมหรือสัญญาณของทารกที่แสดงออกทุกครั้ง