Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบไหลเวียนเลือดโรคหัวใจในสตรีตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคระบบไหลเวียนเลือดโรคหัวใจในสตรีตั้งครรภ์
ชนิดของโรคหัวใจจำแนกตามลักษณะการเกิด
โรคลิ้นหัวใจ (valvular heart disease) เกิดจากการติดเชื้อ streptococcus ลิ้นหัวใจรั่ว (regurgitation lesion) ลิ้นหัวใจตีบ (stenosis lesion) หรือทั้งรั่วทั้งตีบ> :warning:ตั้งครรภ์ได้หากได้รับการรักษา> ยาผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม (prosthetic vulve)
โรคหัวใจพิการ แต่กำเนิด (congestive heart disease) เกิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อม»โครโมโซมการติดเชื้อ >> ชนิด left to right shunt >> ventricular septal defect (VSC), Atrial septal defect (ASD), Persistant Ductus Arteriosus (PDS)> ตั้งครรภ์ได้ :warning: : แต่ left to right shunt ควรหลีกเลี่ยง> tetralogy of fallot, Eisenmenger
อาการและอาการแสดง
การหอบเหนื่อย (dyspnea)
หายใจลำบากในตอนกลางคืน (paroxysmal nocturnal dyspnea)
อาการนอนราบไม่ได้ (progressive orthopnea)
ไอเป็นเลือด (hemoptysis)
ไอมีเสมหะเป็นฟองสีชมพู (pink forthy spatum) ไอเป็นเลือด
เจ็บหน้าอก (chest pain)
ฟังได้ systolic murmur grade III ขึ้นไปหรือฟังได้ diastolic murmur
หัวใจโต (cardiomegaly)
อัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติอย่างรุนแรง (severe arrhythmia) และคลำบริเวณทรวงอกพบว่ามีการสั่นสะเทือน (thrill)
มีอาการเขียว (cyanosis)
นิ้วปุ่ม (clubbing of fingers)
Aa
ผลต่อมารดา
ระวังมากภาวะหัวใจล้มเหลว / ภาวะปอดบวมน้ำเพิ่มอุบัติการณ์ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์เพิ่มอัตราการตกเลือดหลังคลอด / ซีดติดเชื้อง่ายเพิ่มอัตราการเกิด thromboembolism แท้งเองและคลอดก่อนกำหนด / การยุติการตั้งครรภ์การคลอดล่าช้าจากมารดาไม่มีแรงเบ่ง
ผลต่อทารก
-การตายปริกำเนิด
-ภาวะทารกโตช้าในครรภ์
-ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักตัวน้อย
-อัตราทารกหัวใจพิการ แต่กำเนิดโดยเฉพาะในรายที่แม่เป็นโรคหัวใจพิการ แต่กำเนิด
การรักษาในระยะตั้งครรภ์
•ดูแลร่วมกับแพทย์โรคหัวใจมุ่งรักษาโดยให้ความสำคัญที่มารดาเป็นหลักและเลี่ยงอันตรายที่อาจเกิดกับทารก
•ลดการออกกำลังกายรุนแรง
•ลดอาหารเค็มหลีกเลี่ยงการใช้ยาโดยไม่จำเป็นควรงดการดื่มสุราและงดสูบบุหรี่ในรายที่ได้รับยารักษาโรคหัวใจมาก่อนการตั้งครรภ์ควรเปลี่ยนเป็นยา heparin แทนการรักษา
•เฝ้าระวังภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์การนับเด็กดิ้นทำ NST, BPP อายุครรภ์ 28 สัปดาห์เป็นต้นไปพักผ่อนอย่างน้อยที่สุด 10 ชั่วโมงในกลางคืนและนอนพักครึ่งชั่วโมงในเวลากลางวันหลังอาหาร
ฝากครรภ์บ่อยกว่าปกติ»ระยะ 28 สัปดาห์แรกทุก 2 สัปดาห์ต่อไปทุก 1 สัปดาห์
•การทำแท้งเพื่อการรักษาควรกระทำในรายต่อไปนี้มีประวัติหัวใจล้มเหลวมาก่อน-พยาธิสภาพที่รุนแรง-หัวใจอักเสบหรือกำลังอักเสบอย่างรุนแรงจากใช้รูห์มาติค
การรักษาด้วยยา
ยาต้านการแข็งตัวของเลือด >> heparin sc / iv »ต้องติดตามผลของ PTT, APTT, plattlet count และภาวะเลือดออก
ยารักษาโรคหัวใจ (antindysrthmics) » digoxin, adenosine, calcium channel blocker ห้ามใช้กลุ่ม beta-blocker + ช่น propranolol, aeebutolol (กดการหายใจทารกและภาวะ hypoglycemia ของแม่)
ยาต้านการติดเชื้อ (anti infectives) กรณีที่เสี่ยงต่อการเกิดภาวะเยื่อบุหัวใจอักเสบเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง» amoxicillin, penicillin, ampicillin, gentamycin, ceftri, vancomycin
ยาขับปัสสาวะ (diuretics) เพื่อป้องกันภาวะหัวใจล้มเหลว»ติดตาม Elyte
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำเรื่องการพักผ่อนและการทำงานอาหารแนะนำการรับประทานยา
-ยาขับปัสสาวะ >> ชั่งน้ำหนักบันทึก I / O ติดตามผล Elyte
-ยา digitalis / digoxin >> ถ้า PR <60 bpm ให้งดยาและรายงานแพทย์ (SE >> คลื่นไส้อาเจียนเบื่ออาหารอุจจาระร่วงการมองเห็นผิดปกติ)
-ยากล่อมประสาท> phenoharthital
-ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด >> Heparin
-ยาป้องกันการเต้นของหัวใจผิดปกติ (Quinidine >> SE คลื่นไส้อาเจียน
เน้นการนับเด็กดิ้น และการเจริญเติบโตช้า
ระยะหลังคลอด
ป้องกันภาวะช็อคและภาวะหัวใจล้มเหลว
•ดูแลให้พักผ่อนและได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที 4 ครั้งและทุก 30 นาที 2 ครั้งหลังจากนั้นประเมินทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าอาการจะคงที่แล้วจึงประเมินทุก 2 ชั่วโมง
•ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกและดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
•ประเมินลักษณะและปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
•ให้คำแนะนำในการป้องกันการติดเชื้อ. กระตุ้นให้ลุกจากเตียงได้เร็ว
•แนะนำให้ทำหมันหลังคลอดในรายที่อาการของโรคไม่รุนแรงหรือเป็นระดับ 1,2 สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ยกเว้นในรายที่เคยมีภาวะหัวใจล้มเหลวหรือเป็นโรคหัวใจระดับ 3,4
•แนะนำให้ทำจิตใจให้สบายโดยใช้เทคนิคการผ่อนคลาย•เน้นการพักผ่อนและการทำงานและนัดมาตรวจหลังคลอดกับแพทย์โรคหัวใจ