Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน - Coggle Diagram
บทที่ 4 การศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
1. ผลกระทบของการศึกษากับการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาของประเทศ
การตัดสินใจของชุมชน
คุณภาพชีวิตของประชาชน
2. หัวใจสําคัญของ “การพัฒนาที่ยั่งยืน” คือ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีกว่าสําหรับทุกคน ซึ่งหมายถึง
การพัฒนาที่ก่อให้เกิดดุลยภาพระหว่าง
การกระตุ้นความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การสร้างความเข้มแข็งทางสังคม
และ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ทักษะ (Skills)
มุมมอง (Perspectives)
ความรู้ (Knowledge)
ค่านิยม (Values)
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6 ด้าน ช่วง พ.ศ.2551-2555 ของกระทรวงศึกษาธิการ สามารถวิเคราะห์สำหรับการเรียนรู้เพื่อ
เป็นแนวทางในการพัฒนาได้ดังนี้
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
การจัดระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา
การสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษา
การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนของสังคม
4. กลยุทธ์การจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
การพัฒนากระบวนการเรียนการสอน
การพัฒนาหลักสูตร
การปรับปรุงระบบการบริหารการศึกษา
5. การขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่ความยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
แนวทางการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา
การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและฝึกอบรม
6. อุปสรรคและความท้าทายของการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 5 การมีส่วนร่วมของชุมชน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 6 การบูรณาการเนื้อหาสาระการเรียนรู้
ประเด็นท้าทายข้อที่ 4 นิยามเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 7 บทบาทของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ประเด็นท้าทายข้อที่ 3 การปฏิรูปการศึกษา
ประเด็นท้าทายข้อที่ 8 การพัฒนาศักยภาพของกลุ่มผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ประเด็นท้าทายข้อที่ 2 การบูรณาการหลักสูตร
ประเด็นท้าทายข้อที่ 9 การจัดระบบงบประมาณและปัจจัยสนับสนุน
ประเด็นท้าทายข้อที่ 1 การเสริมสร้างความตระหนัก
ประเด็นท้าทายข้อที่ 10 การกำหนดนโยบายส่งเสริมการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
7. การศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในบริบทไทย
ทศวรรษแห่งการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
มีเป้าหมายหลัก 4 ประการ ดังต่อไปนี้
เพื่อเสริมสร้างคุณภาพการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
เพื่อเปิดโอกาสให้ประเทศต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการปฏิรูปหรือจัดระบบการศึกษา
ให้สอดคล้องกับบริบทของการพัฒนาที่ยั่งยืน
เพื่อสร้างเครือข่ายการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอย่างยั่งยืน
เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของประเทศต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายของการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ