Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างบุคลิกภาพและวุฒิภาวะทางอารมณ์ :silhouettes:, นางสาวปรารถนา…
การเสริมสร้างบุคลิกภาพและวุฒิภาวะทางอารมณ์
:silhouettes:
การสนทนาให้เกิดความสัมพันธ์
:<3:
ความหมาย
การสนทนาคือการสื่อสารตอบโต้ระหว่างบุคคลสองคนขึ้นไปเป็นการพูดแลกเปลี่ยนความคิดเห็นข้อสังเกตความเห็นหรือความรู้สึกระหว่างคนการสนทนาต้องเป็นไปเพื่อสร้างมิตรภาพและเพื่อประโยชน์ในการแสดงและรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกันผู้สนทนาที่ดีต้องเป็นผู้ฟังที่ดีด้วยคือตั้งใจฟังยอมรับฟังผู้อื่น
ปัจจัยการสนทนา
กาละ ลักษณะของสถานการณ์ว่าเป็นพิธีการหรือเป็นทางการหรือไม่เพียงใด
เทศะ ความสำคัญของสังคมสถานที่นั้นๆ
บุคคล ผู้เป็นเป้าหมายของการสื่อสารและผู้อื่นที่อาจจะอยู่ร่วมในสถานการณ์นั้นโดยตั้งใจและโดยบังเอิญ
กรอบวัฒนธรรม การสะสมความรู้ว่าอะไรเป็นอะไร สิ่งที่ไม่เหมาะสมไม่ควรเป็นอย่างไร
วัตถุประสงค์ ปัจจัยที่ขึ้นอยู่กับตัวผู้สื่อภาษาเอง ต้องการจะสื่อภาษาให้เกิดผลอย่างไร
วัตถุประสงค์ในการสนทนา
การแจ้งให้ทราบ การบอกเล่าสิ่งที่ผู้ฟังหรือผู้อ่านไม่รู้เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจตรงกัน
การถามให้ตอบ เป็นการขอรู้และขอเข้าใจในเรื่องต่างๆ
การบอกให้ทำ แจ้งความประสงค์ให้อีกฝ่ายหนึ่งลงมือกระทำหรือเลิกกระทำ
การปฏิสันถาร เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน
การสร้างสุนทรียะและความสนุกสนาน
ประเภทของการสนทนา
การสนทนาแบบเผชิญหน้า (face to face communication) การสนทนาที่ได้คุยแบบเห็นหน้ากัน
ทักทายด้วยการใช้คำพูด “สวัสดี”
ทักทายด้วยการไหว้
ทักทายด้วยการสร้าง”รอยยิ้ม”
ทักทายด้วยการ “ ผงกศรีษะ”
ทักทายด้วยการ “ ถามเรื่องทั่วๆไป” ระวังอย่าถามเรื่องส่วนตัว
การสนทนาแบบไม่เผชิญหน้า (Interposed communication) การสนทนาที่ไม่ได้เห็นหน้ากันโดยตรงสื่อสารระหว่างบุคคลแบบมีสื่อกลาง
ใช้น้ำเสียงสุภาพ
ออกเสียงถูกต้องชัดเจน
พูดให้กระชับ
มีอัตราความเร็วพอเหมาะ
ไม่พูดสิ่งที่เป็นความลับ
ไม่ควรชิงกดผิดโทรศัพท์ก่อนสนทนาจะจบลง
ไม่แอบบันทึกการสนทนา
ไม่ควรเคี้ยวอาหารขณะคุย
หากมีข้อผิดพลาดควรกล่าวคำขออภัย
ลักษณะการเป็นคู่สนทนาที่ดี
มีคุณสมบัติของการเป็นนักฟังที่ดี
เป็นผู้พูดที่ดี พูดในลักษณะที่เป็นกลาง
เป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อขัดแย้ง
ให้ความสำคัญกับการสนทนา
5.อย่าผูกขาดการสนทนาแต่ผู้เดียว
ถ้าต้องฟังเรื่องไม่ประสบอารมณ์ควรฟังอย่างสงบ
ไม่ควรนินทาผู้อื่น
มีมารยาทสุภาพ ยิ้มแย้มแจ่มใสเป็นมิตร
การแนะนำผู้ที่ไม่รู้จักการให้สนทนาซึ่งกันและกัน
การสนทนาที่เสริมสร้างบุคลิก
:<3:
บุคลิกภาพกับการสนทนา
บุคลิกภายนอกได้แก่ การแต่งกาย ทรงผม ท่าทาง การเคลื่อนไหวอิริยาบถในการยื นการเดิน การนั่ง
บุคลิกภายในได้แก่ นิสัย อารมณ์ ความรู้สึก ความรอบรู้
ความเชื่อมั่นในตนเอง
อุปสรรคที่พบบ่อย
ผู้พูดไม่มีความตั้งใจและขาดทักษะประสบการณ์
ผู้ฟัง ไม่รับฟังข้อมูลที่ต่างจากตนเองไม่มีสมาธิ
สภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมหรือเวลาไม่เพียงพอ
การสนทนากับวัยรุ่น
:pen:
การได้พูดคุยสอบถามวัยรุ่นถึงปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆย่อมมีประโยชน์ในการดูแลแบบองค์รวมนำไปสู่การป้องกันปัญหาการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาและพฤติกรรมเสี่ยงที่เกิดขึ้นรวมทั้งการส่งเสริมพฤติกรรมเชิงบวกที่เหมาะสมให้เกิดการพัฒนาต่อไป
เทคนิคการสนทนา
สร้างความคุ้นเคยโดยการพูดคุยเรื่องทั่วไปให้วัยรุ่นได้พูดหรือแสดงความคิดเห็น
และควรรับฟังและปฏิบัติกับวัยรุ่นมันเหมือนกับผู้ใหญ่
บอกเรื่องการรักษาข้อมูลส่วนตัว
หลีกเลี่ยงการตัดสินถูกผิด ควรใช้เทคนิคการรับฟังพยายามเข้าใจในปัญหา
แสดงบทบาทเป็นผู้ให้ความช่วยเหลือ
เน้นจุดแข็งหรือข้อดีของวัยรุ่นมากกว่าหาข้อบกพร่อง
เป็นผู้ฟังที่ดีเพื่อให้เกิดความไว้วางใจ
ใช้คำถามปลายเปิดเพื่อเปิดโอกาสให้วัยรุ่น
ได้เล่าแสดงความคิดเห็นหรือความรู้สึก
สร้างความรับผิดชอบเพื่อให้ตระหนักถึงการมีบทบาทหลักในการตัดสินใจและเป็นผู้รับผิดชอบกับพฤติกรรมต่างๆ
พยายามจดบันทึกเฉพาะที่จำเป็นเพราะอาจทำให้วัยรุ่นเกิดความกังวล
มีบทสรุปกล่าวโดยย่อเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน
รวมถึงการวางแผนดูแลรักษาและการนัดหมายในครั้งต่อไป
ให้ความสำคัญและหาข้อมูล
การสนทนาเพื่อสร้างความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล
:check:
Small talk การพูดคุยเล็กน้อย ที่สร้างสัมพันธภาพ พูดคุยกันเรื่อยเปลือยเพื่อกระชับความสัมพันธ์
ARE (Anchor,Reveal และ Encourage)
การใช้บรรยากาศและสิ่งรอบตัวมาสร้างบทสนทนา
FORD การเลือกประเด็นที่ปลอดภัยสามารถตอบได้และมีฐานบางอย่างร่วมกันคือครอบครัว (Family) อาชีพ (Occupation) งานอดิเรก(Recreation)
ความฝัน (Dream) เริ่มจากการพูดหรือเผยบางส่วนของตัวเราก่อน
Big talk การสนทนาสาระหนักๆที่สร้างสัมพันธภาพ
การสนทนาลึกๆที่อาจสามารถเปลี่ยนมุมมองของชีวิต
โดยผู้คนมักจะสนใจในการคุยการเล่าเรื่อง
ความคิดประสบการณ์ให้ผู้อื่นฟังเป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดี
สิ่งที่ได้เรียนรู้และจะนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน
:checkered_flag:
สิ่งที่จะนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวันนั่นก็คือ นำทักษะต่างๆไม่ว่าจะเป็นข้อควรปฎิบัติในการสนทนา มารยาทในการสนทนา การใช้ภาษาน้ำเสียง สายตาหรือการวางตัว รวมทั้งการแต่งกายที่ถูกต้อง และเหมาะสมแก่กาละเทศะ ไปปรับใช้ให้ถูกต้องและแก้ไขข้อบกพร่อง ที่ตนมีอยู่ในปัจจุบันและพัฒนาให้ดียิ่งขึ้นในอนาคต
สิ่งที่ได้รู้คือการสนทนามีความสำคัญเนื่องจากการสนทนานั้น
มีหลายประเภทรวมถึงหลากหลายความแตกต่าง
ของระดับการสนทนาซึ่งในแต่ละ การสนทนาก็มีวิธีการพูดคุย
การแสดงบุคลิกที่แตกต่างกันออกไปหลายอย่าง
โดยเฉพาะการสื่อสารทางการพยาบาลเพราะ
มีความจำเป็นต่อการปฎิบัติการพยาบาล
จะช่วยเพิ่มคุณภาพของการดูแลผู้ป่วยและ
เป็นการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
การสนทนากับผู้สูงอายุ
:pen:
จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมควรเป็นที่เงียบสงบ
ไม่มีเสียงรบกวนมีแสงสว่างเหมาะสมที่นั่งสบาย
การทักทายแสดงความเคารพกับผู้สูงวัยอย่างเหมาะสม
ทำให้ได้รับการยอมรับและเกิดความผ่อนคลาย
ให้เวลาในการสนทนามากกว่าปกติทั่วไป
ควรเตรียมเวลาในการสนทนาให้มากกว่าปกติ
พูดช้าลงใช้คำพูดที่ชัดเจนไม่กำกวม
พูดเสียงดังฟังชัดและเหมาะสมไม่ควรตะโกน
พูดทีละประเด็นเพื่อให้ผู้สูงวัยเข้าใจ
และติดตามการสื่อสารได้ถูกต้องครบถ้วน
เว้นระยะและเปิดโอกาสให้ได้ซักถามหรือแสดงความคิดเห็น
ควรมีการเว้นระยะการสนทนาเพื่อให้ผู้สูงอายุได้ประเมินผลเรื่อง
ที่รับฟังและเปิดโอกาสให้ซักถาม
รับฟังให้มากให้เวลาในการรับฟังสิ่งที่ผู้สูงวัยพูด
9.การสรุปและการจดบันทึกความจำสั้นสั้นโดยให้ผู้สูงวัยอ่านง่ายและมีประโยชน์
การสนทนาเพื่อสร้าง
สัมพันธภาพทางการพยาบาล
:check:
ความหมาย
การสื่อสารที่สำคัญเป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนและ
ร่วมการรับรู้เรื่องราวข้อมูลข่าวสารต่างๆ
โดยมีความเข้าใจร่วมกันต่อสัญลักษณ์
ที่แสดงเรื่องราวข่าวสารนั้นนั้นระหว่างพยาบาล
กับผู้ใช้บริการทีมสุขภาพและผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
ทักษะในการติดต่อสื่อสาร
ความรักในเพื่อนมนุษย์ การเคารพในความเป็นบุคคลของผู้อื่น การยอมรับการเห็นใจ เข้าใจในความรู้สึกของผู้อื่น ความเชื่อถือไว้วางใจ
การจริงใจ ความเข้าใจ การดูแลเอาใจใส่
การสนทนาในห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
:pen:
Open แนะนำตัวเองแจ้งผู้ป่วยว่าตนมีบทบาทหน้าที่อะไรทักทาย
เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้ป่วยในเบื้องต้น
2.Engage การสนทนาไม่ควรมีบรรยากาศที่เคร่งเครียดจนเกินไป
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้เล่าอาการและเหตุการณ์ต่างๆ
3.Empathize รับฟังผู้ป่วยด้วยความเห็นอกเห็นใจมีกิริยาท่าทางสีหน้า
และคำพูดตอบสนองผู้ป่วยด้วยอารมณ์ความรู้สึกที่เหมาะสมกับเรื่องราวนั้นๆ
4.Educate ประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
การเจ็บป่วยของตนมีความกังวลอะไรเพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม
5.Enlist พยายามชักจูงให้ผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วม
ในการวางแผนการรักษากับทีมสุขภาพ
6.Close สรุปการไม่ใช้ขั้นตอนการรักษาการพยาบาลผู้ป่วยโดยคร่าวๆ
การสนทนากับผู้ป่วยวิกฤติและญาติ
:pen:
เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยนข่าวสารระหว่างบุคลากรทางการแพทย์กับผู้ป่วยและครอบครัวของผู้ป่วยในหอวิจิตรมีความยากลำบากในการสื่อสารเนื่องจากการติดท่อช่วยหายใจภาวะการคิดรู้บกพร่องจากพยาธิสภาพของโรคจึงต้องอาศัยความชำนาญ
การสนทนากับญาติเรื่องไม่พึงประสงค์
หรือแจ้งข่าวร้ายในผู้ป่วยมะเร็ง
:pen:
เตรียมความพร้อมก่อนสนทนา (S-Setting up)
มีการวางแผนในการบอกข้อมูลทั้งเนื้อหาและลำดับการบอกวิธีการสื่อสารกับผู้ป่วยรวมถึงวิธีเผชิญปฏิกิริยาทางอารมณ์และการตอบสนองต่อคำถามต่างๆ
ให้ข้อมูลตามความเป็นจริงเพื่อในการวางแผนชีวิตในอนาคตของผู้ป่วย
2.ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วย (P-Preception) การสำรวจความรู้สึกและความคาดหวังของผู้ป่วยเป็นการหาข้อมูลที่ผู้ป่วยรับรู้หรือคาดเดาว่าตนเป็นอะไรและการเจ็บป่วยครั้งนี้มีผลต่ออนาคตอย่างไร
ประเมินว่าผู้ป่วยต้องการทราบข้อมูลอะไร (I-Invitation) ทำให้ทราบว่าผู้ป่วยต้องการรับทราบข้อมูลอื่นที่เกี่ยวข้องหรือไม่อะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด
ให้ความรู้ (K-Knowledge) ควรให้ความรู้ที่เป็นความรู้ในสิ่งที่ผู้ป่วยต้องการทราบหรือกังวลใจก่อนเป็นอันดับแรกคุณพูดด้วยประโยคนำเพื่อให้ผู้ป่วยหรือครอบครัวเตรียมพร้อมก่อนให้ความรู้
สนใจความรู้สึกของผู้ป่วย (E-Emotion) การตอบสนองและการแสดงออกทางอารมณ์ของผู้ป่วยและครอบครัว
สรุปวิธีเผชิญปัญหาและวางแผนในอนาคต (S-Strategy and Summary) พยาบาลควรทบทวน ข้อมูลในการสนทนาเพื่อนำมาวางแผนในอนาคตร่วมกับผู้ป่วยโดยให้ครอบครัวผู้ป่วยเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
การสนทนาในที่ประชุม
:pen:
การสนทนาที่มีหลักสำคัญคือ ไม่ควรสนทนาในเรื่องที่กว้างไกลตัว
หลีกเลี่ยงการถกเถียงโต้คารมในเรื่องการเมือง ความเชื่อ และอาการป่วย
นางสาวปรารถนา คำใจ เลขที่ 42 ห้อง 2 (62125301085)
:star: