Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง, นางสาวพิชญานิน นิสภา รุ่น 37…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะเสี่ยงสูง
การจำทารกแรกเกิด
แบ่งตามอายุครรภ์
term or mature infant คือ ทารกที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 - 41 สัปดาห์เต็ม
post term infant คือ ทารกที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
preterm infant คือ ทารกที่มีอายุครรภ์ 37 สัปดาห์เต็มหรือต่ำกว่านี้
แบ่งตามน้ำหนักแรกเกิด
normal birth weight infant
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิด 2,500-4,000 กรัม
low birth weight infant
very low birth weight infant < 1,500 กรัม
extreme low birth weight < 1,000 กรัม
ทารกที่มีน้ำหนักแรกเกิดต่ำ กว่า 2,500 กรัม
ทารกคลอดก่อนกำหนด
คลอดเมื่ออายุครรภ์ < 37 สัปดาห์
สาเหตุ
ทารกในครรภ์
โครโมโซมผิดปกติ
ติดเชื้อ
มารดา
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มดลูกขยายตัวมากเกินไป
โรคประจำตัว เช่น เบาหวาน ความดันโลหิต หัวใจ
ติดเชื้อในร่างกาย
อายุต่ำกว่า 18 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ดื่มสุรา สูบุหรี่ ใช้ยาเสพติดขณะตั้งครรภ์
ปัญหาระบบภูมิคุ้มกัน
Sepsis
สาเหตุ
ทารกมีภาวะพรองออกซิเจน
มารดามีการติดเชื้อ น้ำคร่ำมีกลิ่น
preterm การคลอดล้าช้า
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนดนานเกิน 18 ชม.
ติดเชื้อ Group B streptococci แกรมลบ E.coli Klebsiella
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC , Plt count , - ESR ดูการตกของเม็ดเลือดขาวทารกยังไม่เกิน 2 mm/hr
Culture 24-48 hr.( blood, UA, CSF, Sputum) , CRP , CXR
Late onset Sepsis คือ ติดเชื้อที่แสดงอาการ หลังคลอด 72ชม.-1เดือน
การพยาบาล
ดูแลความสะอาดร่างกายและสิ่งแวดล้อม , ติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ และสังเกตอาการข้างเคียงของยา , แยกทารก
ประเมินภาวะติดเชื้อในร่างกาย , . ควบคุมอุณหภมูิกายให้อยู่ในระดับปกติ
Early onset Sepsis ติดเชือในระยะก่อน/ ระหว่างการคลอด แสดงอาการ 2-3 วัน แรกหลังคลอด
การรักษา
ส่วนมากให้ Ampicillin IV กับ Gentamycin IV
ถ้าไม่ได้ผลนิยมเปลี่ยนเป็นกลุ่ม ม Cephalosporins IV
ให้ยาปฏิชีวนะที่เหมาะสมตาม sensitivity
ทารกคลอดก่อนกำหนด
เม็ดเลือดขาวมีน้อย จึงทำหน้าที่ในการกำจัดเชื้อโรคค phagocytosisไม่สมบูรณ์
ผิวหนังเปราะบาง epidermis และ dermis ยึดกันอย่างหลวมๆจึงถูกทำลายได้ง่าย
การสร้าง IgM ยังไม่สมบูรณ์ได้รับ IgG จากมารดาขณะอยู่ในครรภ์น้อย
ระบบทางเดินอาหาร
Necrotizing Enterocolitis (NEC)
การรัก
การพยุงระบบไหลเวียน ด้วยการให้สารน้ำ สารอาหารทางหลอดเลือด
ให้ยากลุมกระตุ้นความดันโลหิต Vasopressor
ยาปฏิชีวนะชนิดสเปกตรัมกว้าง การระงับการติดเชื้อตามระบบต่างๆ
การเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
การระงับกระตุ้นทำให้เกิดการอักกเสบ ผ่านการพักการใช้ทางเดินอาหาร NPO
โดยการผ่าตัด
การผ่าตัดแบบเปิดสำรวจช่องท้อง
การใส่ท่อระบายช่องท้อง
อาการ
เซื่องซึม (lethargy) ดูดนมไม่ดี ตัวเหลือง ร้องกวน T.ต่ำ หยุดหายใจ หัวใจเต้นช้า ภาวะกรดเกิน โซเดียมต่ำ ออกซิเจนต่ำ
ท้องอืด ถ่ายเหลว อาเจียนเป็นสีน้ำดี เลือดออกในทางเดินอาหาร มีอาหารเหลือในกระเพาะอาหาร เยื่อบุท้องอักเสบ
ภาวะลำไส้เน่าอักแสบ เป็นภาวะที่เนื้อเยื่อของระบบทางเดินอาหารตายจากการอักเสบจนขาดเลือด
Hypoglycemia
-ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ40mg%term -ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ35mg%preterm
สาเหตุ
glycoren ที่ตับสะสมไว้น้อยจึงสร้างกลูโคสได้จำกัด
การสร้างglucogenesisได้น้อย
การไม่ได้รับกลูโคสจากมารดา
มีภาวะเครียดทั้งขณะอยู่ในครรภ์ คลอดและหลังคลอด
Meconium aspiration syndrome (MAS)
สาเหตุทำให้หายใจลำบาก พบมากในทารกครบและเกินกำหนดที่มีภาวะขาดออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ใช้ยาเพื่อขยายหลอดเลือดในปอด กรณีมีภาวะความดันในปอดสูง
ให้ยาปฏิชีวนะ ในกรณีมีภาวะหายใจล้มเหลว เพื่อลดการอักเสบเนื้อเยื่อปอด
ให้ยาตามอาการ เพื่อให้ทารกพักผ่อน ลดการใช้ออกซิเจน (opioids,muscle relaxant)
เฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนที่สำคัญ เช่น ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด , ภามะความดันในปอดสูง
ให้ทารกได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
ภาวะที่ทารกในครรภ์สูดสำลัก/หายใจเอาขี้เทาในน้ำคร่ำเข้าหลอดลม/ปอด
อาการ
อาการรุนแรงปานกลาง
การหายใจเร็วรุนแรงมากขึ้น มีการดึงรั้งของซ่องซี่โครง รุนแรงมากเมื่ออายุ 24 ชม.
อาการรุนแรงมาก
ระบบหายใจล้มเหลวในทันที หรือภายใน 2-3 ชม. หลังเกิด
อาการรุนแรงน้อย
หายใจเร็ซระยะสั้นๆเพียง 24-72 ชม. ทำให้แรงดันลดลง
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
การสูญเสียความร้อนในทารก
convection เป็นการพาความร้อนจากทารกสู่สิ่งแวดล้อมที่เย็นกว่า
radiation การสูญเสียความร้อนไปสู่ที่เย็นกว่าแต่ไม่สัมผัสวัตถุโดยตรง
conduction เกิดจากผิงทารกสัมผัสกับวัตถุที่เย็น
evaporation การสูญเสียความร้อนเมื่อของเหลวเปลี่ยนไปเป็นไอน้ำ
การวัดอุณหภูมิทารก
ทางรักแร้
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 5 นาที
ทารกครบกำหนด วัดนาน 8 นาที
ทางทวาร
ทารกเกิดก่อนกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 2.5 ซ.ม.
ทารกครบกำหนด วัดนาน 3 นาที ลึก 3.0 ซ.ม.
Hypothermia
อุณหภูมิต่ำกว่า 36.5 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรก
มือเท้าเย็น ตัวซีด ผิวหนังลายจากเส้นเลือดขยายตัว
ซึม ดูดนมช้า ดูดนมน้อยลง อาเจียน ท้องอืด น้ำหนักลด-ไม่เพิ่ม
Hyperthermia
อุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
อาการเริ่มแรก
หงุดหงิด การเคลื่อนไหวลดลง ผิวหนังอุ่นกว่าปกติ
หายใจเร็ว หรือหยุดหายใจ ซึม
การดูแล
จัดให้อยู่ในที่อุณภูมิเหมาะสม ปรับอุณหภูมิห้องให้เหมาะสม
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกาย 4 ทาง
ระวัง Cold stress
ตรวจสอบอุณหภูมิร่างกายทุก 4 ชม.
keep warm (warmer, incubator ผ้าห่มห่อตัว)
ทารกที่อยู่ในตู้อบ
เพื่อในอุณหภูมิกายทารกอยู่ในเกณฑ์ 36.8-37.2 องศาเซลเซียส
ตู้อบปรับอุณหภูมิด้วยมือ
ปรับเพิ่มครั้งละ 0.2 องศาเซลเซียส Max 38.0 องศาเซลเซียส
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 10-30 นาที
ปรับอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 36 องศาเซลเซียส
ตู้อบปรับอุณหภูมิอัตโนมัติ
ปรับอุณหภูมิเริ่มต้นที่ 36 องศาเซลเซียส
ปรับเพิ่มครั้งละ 0.1 องศาเซลเซียส Max 38.0 องศาเซลเซียส
ติด Skin probe บริเวณหน้าท้อง โดยหลีกเลี่ยงบริเวณตับ, bony prominence
ติดตามอุณหภูมิกายทุก 10-30 นาที
ระบบการไหลเวียนโลหิต
Patent Ductus Arteriosus
การรักษา
การรักษาจำเพาะ
การผ่าตัด PDA ligation
ใช้ยา ยับยั้งการสร้าง prostaglandin
Indomethacin 0.1-0.2 มก./กก. ทุก 8 ชม.
ข้อห้าม
Plt. < 60,000 /mm3
urine < 0.5 cc/Kg/hr. นานกว่า 8 hr.
BUN > 30 mg/dl , Cr > 1.8 mg/dl
มีภาวะ NEC
Ibuprofen
ข้อห้ามใช้
BUN > 20 mg/dl , Cr > 1.6 mg/dl
ให้ยาควบคุมอาการถ้ามีภาวะหัวใจวาย
อาการ
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย รับนมได้น้อย ท้องอืด น้ำหนักไม่ขึ้น
Hyperbilirubinemia
สาเหตุ
มีการกำจัดบิริลูบินได้น้อยลงจากท่อน้ำดีอุดตัน
มีการสร้างบิริลูบินเพิ่มมากขึ้นร่วมกับการกำจัดได้น้อยลง
มีการดูดซึมบิริลูบินจากลำใส้มากขึ้น จากภาวะลำไส้อุดตัน
มีการดูดซึมบิริลูบินจากลำใส้มากขึ้น จากภาวะที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
มีการสร้างบิลลิรูบินมากกว่าปกติ
Kernicteru
เกิดอาการผิดปกติทางสมอง จากระดับบิริลูบินในเลือดสูง ไปจับกับเนื้อสมองด้านใน
แบ่งเป็น
Pathological jaundice
ทารกมีบิริลูบินในเลือดสูงและเหลืองเร็ว
Physiological jaundice
เกิดจากมีการสร้างบิลิรูบินมาก เพราะเม็ดเลือดแดงอายุสั้นกว่า ไม่สมบูรณ์ในการทำงานของตับ ทำให้การขับบิริลูบินช้า
อาการ
ระยะยาว
ร่างกายแขนขาเคลื่อนไหวผิดปกติ การได้ยินการเตลื่อนไหลลูกตาผิดปกติ พัฒนาการช้า ระดับสติปัญญาลดลง
ระยะแรก
ซึม ดูดนมได้น้อยลง ตัวอ่อนปวกเปียก เกร็งหลังแอ่น ชักมีไข้
การรักษา
การส่องไฟ phototherapy
การเปลี่ยนถ่ายเลือด exchange transfusion
ปัญหาระบบทางเดินหายใจ
Respiratory Distress Syndrome (RDS)
ปัจจัย
ทารกมีภาวะ hypothermia, Perinatal asphyxia
มารดาเป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอด
ครรภ์ก่อนบุตรมีภาวะ RDS
สาเหตุ
โครงสร้างของปอดมีพัฒนาการไม่เต็มที่
สาร surfactant ทำหน้าที่ให้ถุงลมคงรูปไม่แฟบขณะหายใจออก สร้างจาก aveolar call type II ที่ผนังถุงลมเมื่ออายุครรภ์ประมาณ 22-24wks และสร้างมากขึ้นจนเพียงพอหลัง 35 wks
เกิดจากการขาดสารลดแรงตึงผิวที่ผิวของถุงลม
พบบ่อยในทารกคลอดก่อนกำหนดที่ GA<34-36 wks น้ำหนักตัว < 1,500 gm
การป้องกัน
ป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
มาดารที่เสี่ยงคลอดก่อนกำหนด ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก 24-34 wks ควรได้ antenatal corticosteroids อย่างน้อย 24 ชม.ก่อนคลอด
Betamethazone 12 mg IM q. 24 hr. จนครบ 2 ครั้ง
Dexamethazone 6 mg IM q 12 hr จนครบ 4 ครั้ง
เพื่อกระตุ้นให้มีการสร้างสารลดแรงตึงผิวและปอดมีความสมบูรณ์มากขึ้น
ภาวะกลุ่มอาการหายใจลำบาก
อาการ
ดูดนมไม่ดี อาเจียน ท้องอืด
ซึม กระสับกระส่าย Reflex ลดลง กระหม่อมโปร่งตึง
หน้าอกปุ่ม (retraction) บริเวณ Intercostal, Subcostal และ Substernal retraction
ตัวลาย ผิวหนังเย็น ตัวเหลือง มีจุดเลือดออก
หายใจเร็ว (tachypnea) > 60 ครั้ง/นาที หรือหายใจะลำบาก หายใจหน้าอกท้องไม่สัมพันธ์กัน ใจออก expiratory grunting ซีด BPต่ำ
Hypoglycemia ภาวะ acidosis
การรักษา
ป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
ให้สารลงแรงตึงผิวเพื่อให้ความยืดหยุ่นของปอดดีขึ้น
การให้ออกซิเจนตามความต้องการของทารก
Perinatal asphyxia
ประกอบด้วย
hypercapnia
ventilation ,
pulmonary perfusion
hypoxemia
สาเหตุ
ปัจจัยด้านมาดาร ตกเลือด อายุมาก ครรภ์เกินกำหนด
ปัจจัยเกี่ยวกับทารก คลอดก่อนกำหนด เจริญช้าในครรภ์
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการคลอด ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับเชิงกราน คลอดติดไหล่
ภาวะขาดออกซิเจนของทารกแรกเกิด
ระดับ
Mild asphyxia คะแนนแอพการ์ 5 – 7
Moderate asphyxia คะแนนแอพการ์ 3 – 4
No asphyxia คะแนนแอพการ์ 8 -10
Severe asphyxia คะแนนแอพการ์ 0-2
Apnea of prematurity (AOP)
central apnea
ภาวะหยุดหายใจที่ไม่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
ไม่มีอากาศผ่านรูจมูกจากศูนย์การหายใจที่บริเวณก้านสมองทำงานไม่ดี
obstruction apnea
ภาวะหยุดหายใจที่มีการเคลื่อนไหวของทรวงอก
ไม่มีอากาศผ่านรูจมูกเกิดจากการงอ-หารเหยียดลำคอเกิน เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ภาวะหยุดหายใจนานกว่า 20 วินาที ร่วมกับมี cyanosis
การดูแลระบบทางเดินหายใจ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจน
ดูดเสมหะเมื่อจำเป็น
ระวังการสำลัก
สังเกตอาการพร่องออกซิเจน
จัดท่านอนที่เหมาะสม
ภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับออกซิเจน
Bronchopulmonary Dysplasia: BPD
Retinopathy of Prematurity : ROP
Intraventricular hermorrhage: IVH
นางสาวพิชญานิน นิสภา รุ่น 37 เลขที่ 57 (62111301059)