Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการจัดสัมมนาแบบ Panel discussion, อ้างอิง, ประโยชน์ที่ได้รับ -…
รูปแบบการจัดสัมมนาแบบ Panel discussion
ความหมาย
เป็นการอภิปรายที่แยกคณะผู้อภิปรายจากผู้ฟัง
คณะผู้อภิปรายจะประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุมิหรือผู้เชี่ยวชาญจากสาขาวิชาต่างๆในเรื่องที่จะอภิปรายประมาณ 3-6 คน
ข้อจำกัด
พิธีกรที่ขาดประสบการณ์ อาจสรุปการอภิปรายได้ไม่ถูกต้องและสมบูรณ์ ทำให้การอภิปรายไม่ได้ผลเท่าที่ควร
ผู้ฟังมีส่วนร่วมในการกิจกรรมน้อยเกินไป
ในระยะเวลาที่กำหนด ผู้อภิปรายอาจไม่สามารถเสนอความคิดเห็นหรือตอบปัญหาได้อย่างเต็มที่
วิธีการดำเนินการ
พิธีกรดำเนินการการตามกำหนดการ โดยเชิญประธานเปิดการสัมมนา หลังจากนั้นพิธีกรแนะนำหัวข้อที่จะดำเนินการสัมมนาและผู้ร่วมดเนินการอภิปรายทุกคน
เริ่มดำเนินการอภิปราย โดยเปิดโอกาสให้ผู้อภิปรายแสดงความคิดเห็นของตนอย่างอิสระ หลังจากนั้นพิธีกรอาจจัดช่วงเวลาสำหรับแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้อภิปรายด้วยกันเอง โดยพิธีกรเป็นผู้สรุปในแต่ละตอน
การจัดสถานที่การสัมมนา ควรจัดเวทียกพื้นและมีโต๊ะสำหรับการวางเอกสารและวัสดุต่าง ๆ ให้แก้ผู้อภิปรายโดยจัดเป็นลักษณะแถวเดี่ยวหรือรูปโค้งเล็กน้อย
ข้อดี
ผู้ฟังได้รับความรู้ ความคิดเห็นต่างๆ อย่างกว้างขวาง
บรรยากาศในการพูดเป็นกันเอง
ประกอบด้วยวิทยากรหรือผู้อภิปรายหลายคน สามารถดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังได้มากขึ้น
อ้างอิง
อภิชยา นิเวศน์. (2550). การอภิปรายแบบคณะ Panel Discussion , สืบค้นเมื่อ 16 พฤษภาคม 2563
จาก.
https://www.gotoknow.org/posts/138594?
Kristin Arnold, (2018). Panel Discussion Definition. Retrieved November 16, 2021, from powerfulpanels Web site:
https://powerfulpanels.com/definition-panel-discussion
สุวิทย์ มูลคำและอรทัย มูลคำ. (2551). รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบอภิปราย , สืบค้นเมื่อ 13 พฤษภาคม 2563
จาก.
https://lookplasupranee.blogspot.com/2015/07/blog-post_48.html?fbclid=IwAR1jRGrJVgcomMPpsP7IRUkLuHLri3svvLPF6EubD94plfQZCy7H5rwwrok
ประโยชน์ที่ได้รับ
ได้ทราบถึงรูปแบบการสัมมนาที่เหมาะสำหรับวิชาการ