Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การบริหารจัดการชั้นเรียน - Coggle Diagram
บทที่ 11
การบริหารจัดการชั้นเรียน
ความหมายและความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียน
การบริหารจัดการชั้นเรียน หมายถึง กระบวนการจัด
สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนอย่างเป็นระบบอย่างต่อเนื่อง
เป้าหมายของการบริหารจัดการชั้นเรียน
ความสำเร็จด้านพฤติกรรม
มุ่งสร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ลดหรือขจัดพฤติกรรมที่ขัดขวางหรือ
มารบกวนกิจกรรมการเรียนรู้
ความสำเร็จด้านสังคม
เสริมสร้างลักษณะนิสัย เจตคติ และทักษะทางสังคมให้กับผู้เรียน
ความสำเร็จด้านวิชาการหรือการเรียน
การให้ผู้เรียนประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ เกิดการ
เรียนรู้อย่างแท้จริง เพื่อที่ผู้เรียนจะสามารถนำไปต่อยอด
แนวคิด
การบริหารจัดการชั้นเรียนมีความสัมพันธ์กับการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ
เน้นการบริหารจัดการศึกษาให้สอดคล้องหรือเหมาะสมกับสภาพของชุมชนในแต่ละท้องถิ่น
การศึกษาตามอัธยาศัย
ตัวผู้เรียนเองที่จะเป็นคนกำหนดกฎ ระเบียบ วินัย
การบริหารจัดการชั้นเรียนและการเรียนการสอนมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
การบริหารจัดการชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
ครูผู้สอนควรต้องเข้าใจและพยายามกระตุ้นผู้เรียนให้เข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
ใช้เทคนิคการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ
มีความระมัดระวังในการวิจารณ์บุคลิกภาพหรือลักษณะนิสัยของผู้เรียน
ให้เกียรติไม่พูดจาดูถูก หรือลงโทษผู้เรียนอย่างรุนแรง
การออกแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพของชั้นเรียน
รูปแบบการจัดชั้นเรียนควรจัดหรือปรับเปลี่ยนที่นั่งในชั้นเรียนให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดชั้นเรียนรูปแบบธรรมดา
ครูเป็นศูนย์กลางในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้
การจัดชั้นเรียนรูปแบบนวัตกรรม
เอื้อต่อการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ครูผู้สอนทำหน้าที่เป็นผู้กำกับและแนะแนวผู้เรียน
การสร้างบรรยากาศของห้องเรียน เพื่อเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
ครูและผู้เรียนควรคุยและตกลงกันตั้งแต่วันแรกของการเปิดเรียนว่า
ต้องการบรรยากาศของห้องเรียนแบบไหน
หน้าที่ของครู
ไวต่อบรรยากาศที่เกิดขึ้นในห้องเรียน รู้ความ
เคลื่อนไหวต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
มีความสามารถในการดูแลและบริหารจัดการห้องเรียนได้อย่างทั่วถึง
หลีกเลี่ยงการพูดประโยคเดิม ๆ ซ้ำ ๆ
ระมัดระวังในการทำโทษผู้เรียนคนใดคนหนึ่ง โดยไม่ให้ส่งผลกระทบต่อผู้เรียนทั้งชั้น
หน้าที่นักเรียน
ยอมรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างกัน
เคารพกฎเกณฑ์และ
ระเบียบวินัยที่ได้ร่วมกันกำหนดขึ้นตั้งแต่แรก
เข้าร่วมกิจกรรมและทำงานตามที่ครูผู้สอนมอบหมาย
บรรยากาศที่พึงปรารถนาในชั้นเรียน
ท้าทาย
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้กระทำ
กิจกรรมที่หลากหลาย
อิสระ
ยอมรับนับถือ
ยอมรับในตัวของผู้เรียนว่าผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกัน ทุกคนเป็นบุคคลสำคัญ มีคุณค่า และมีศักยภาพในการเรียนรู้
อบอุ่น
ควบคุม
ฝึกให้ผู้เรียนมีระเบียบวินัย รู้จักเคารพกฎกติกาต่าง ๆ
ความสำเร็จ
ปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการชั้นเรียน
ครู
สภาพแวดล้อม
กฎ ระเบียบ
บรรยากาศ
วิธีการจัดการเรียนรู้
ผู้เรียน
เทคนิคและกลวิธีในการจัดการชั้นเรียน
ครูผู้สอนควรสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้เรียน
กำหนดข้อตกลงในการอยู่
ร่วมกันในชั้นเรียน
ใช้การสื่อสารเชิงบวกระหว่างครูผู้สอนกับผู้เรียน
จัดสิ่งแวดล้อมทางกายภาพให้
เหมาะสมกับการเรียนรู้
ใช้เทคนิคการเรียนรู้หรือกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลาย
การจัดการพฤติกรรมที่เป็นปัญหาของผู้เรียน
การบริหารจัดการกลวิธี
การช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาพฤติกรรมเล็กน้อย
ชี้นำแบบอวัจนภาษา
การสบตากับผู้เรียน
และให้สัญญาณต่าง ๆ
ให้กิจกรรมดำเนินการต่อไป
ครูเข้าใกล้ผู้เรียนมากขึ้น
ย้ำให้ผู้เรียนรู้ว่าพฤติกรรมที่ต้องทำคืออะไร
จัดการสอนเพิ่มเติมให้ผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็น
ครูแสดงออกและบอกผู้เรียนให้หยุดแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีทางเลือกที่หลากหลาย
การช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาพฤติกรรมระดับปานกลาง
ระงับสิทธิพิเศษหรือกิจกรรมที่ต้องการ
แยกผู้เรียนออกไป
กำหนดบทลงโทษ
การใช้ทรัพยากรบุคคลอื่นๆ
ไกล่เกลี่ยเพื่อน
ประชุมระหว่างครูและพ่อแม่หรือผู้ปกครอง
ขอความช่วยเหลือจากผู้อำนวยการหรือผู้ให้คำปรึกษา
หาที่ปรึกษาหรือผู้ดูแลให้นักเรียน
โปรแกรมที่ใช้ห้องเรียนและโรงเรียนเป็นฐาน
The Improving Social Awareness-Social Problem Solving Project
สำหรับผู้เรียนระดับประถมศึกษา
ฝึกให้เด็กรู้จักการแก้ปัญหา และการตระหนักรู้ทางสังคม
The Social Competence Program for Young Adolescents
สำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักการควบคุมตนเอง การบริหารจัดการความเครียด การ
ตัดสินใจ และการแก้ปัญหา
พัฒนาการสื่อสารระหว่างฝ่ายบุคคลของโรงเรียนกับผู้เรียน
ป้องกัน
พฤติกรรมการต่อต้านสังคม
The Three C’s of School and Classroom Management
แก้ปัญหาที่ก่อให้เกิดการหยุดชะงักและ
เป็นผลเสียต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
การให้ความร่วมมือกับชุมชน (Cooperative community)
การจัดการความขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ (Constructive conflict resolution)
ค่านิยมของพลเมือง (Civic values)
Skills for Life
พัฒนาผู้เรียนให้รู้จักการควบคุมตนเอง มีความรับผิดชอบ และมีความสามารถในการแก้ปัญหาทางสังคม
สำหรับผู้เรียนตั้งแต่วัยอนุบาล-ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5