Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การจัดสัมมนาแบบ Panel discussion - Coggle Diagram
การจัดสัมมนาแบบ Panel discussion
ความหมาย
เป็นการอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนดจากผู้ทรงคุณวุฒิ
อภิปรายเพื่อเสนอข้อมูลความรู้ ข้อเท็จจริง
และความคิดเห็นของตนแก่ผู้ฟัง
เป็นการสัมมนาแบบคณะ
จำนวนผู้อภิปรายประมาณ 3-8 คน
วิธีการดำเนิน
เปิดการสัมมนา
พิธีกรเชิญประธานเปิดการอภิปราย
พิธีกรแนะนำหัวข้อเรื่องที่จะบรรยายและแนะนำวิทยากรแต่ละคน เพื่อให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบพื้นฐานและภูมิหลังของผู้บรรยาย
ขณะบรรยาย
เริ่มการบรรยายโดยพิธีกรหรือประธานเป็นผู้ประสานเชื่อมโยงการบรรยายของวิทยากรแต่ละคน อาจสรุปในบางตอนที่มีเนื้อหาสาระประทับใจเป็นพิเศษ
คอยประสานงานให้การบรรยายดำเนินไปตามหัวข้อเรื่อง และวัตถุประสงค์ที่วางไว้
เมื่อจบการบรรยาย หรือจบการบรรยายของวิทยากรแต่ละคน ควรเปิดโอกาสให้ผู้ฟังได้ซักถาม แสดงข้อคิดเห็นต่างๆ โดยพิธีกรหรือประธานเป็นผู้ประสานงาน
ก่อนการสัมมนา
จัดที่นั่งให้ผู้เข้าสัมมนาอยู่ในระดับต่ำกว่าผู้บรรยาย เพื่อที่ผู้ฟังจะได้มองเห็นผู้บรรยายได้อย่างชัดเจน
จัดเตรียมสื่อการบรรยายชนิดต่างๆให้พร้อม ดูน่าสนใจและเข้าใจง่าย
ข้อดีของการสัมมนาแบบ Panel discussion
บรรยากาศในการพูดเป็นกันเอง
ประกอบด้วยวิทยากรหรือผู้อภิปรายหลายคน
สามารถดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังได้มากขึ้น
ผู้ฟังได้รับความรู้ ความคิดเห็นต่างๆอย่างกว้างขวาง
เปิดโอกาสให้ผู้ฟัง มีส่วนร่วมในการซักถามผู้อภิปราย
ในช่วงท้ายของการสัมมนา วิธีนี้จะช่วยกระตุ้นให้ผู้ฟัง
เกิดความสนใจ ได้รับความรู้และข้อเท็จจริงมากขึ้น
ข้อจำกัดของการสัมมนาแบบ Panel discussion
พิธีกรขาดประสบการณ์ อาจจะสรุปการอภิปรายได้ไม่ถูกต้อง
ผู้ฟังมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมน้อยเกินไป
อาจทำให้การอภิปรายน่าเบื่อหน่าย
ในระยะเวลาที่กำหนด ผู้อภิปรายอาจไม่สามารถ
เสนอความคิดเห็นหรือตอบปัญหาได้อย่างเต็มที่
ผู้อภิปรายบางคนอาจพูดมากเกินไป หรืออาขพูดนอกประเด็นซึ่งจะทำให้การอภิปรายไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควร
อ้างอิง
กัญณัฏฐ์ สุริยันต์. (2559). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564, จาก
https://kunyanutcom.files.wordpress.com/2015/03/1_edit.pdf
Anantakul Intarapadung. (2560). กระบวนการจัดสัมมนา. สืบค้นเมื่อ 15 พฤษภาคม 2564, จาก
http://www.anantakul.net/learning/SeminarProcess.pdf
เกษม วัฒนชัย. (2551). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกบัการประชุม. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา