Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 มานุษวิทยา และการสังคมสงเคราะห์ - Coggle Diagram
หน่วยที่ 4
มานุษวิทยา
และการสังคมสงเคราะห์
มานุษวิทยา
ความหมาย ศาสตร์หรือวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาทำความเข้าใจมนุษย์ รวมไปถึงการตอบคำถามต่างๆที่เริ่มตั้งแต่ประเด็นของวิวัฒนาการของมนุษย์ และสังคมวัฒนธรรม มนุษย์เริ่มปรากฏตัวบนโลกครั้งแรกเมื่อไหร่ ไปจนถึงประเด็นที่ว่าทำไมมนุษย์ในแต่ละสังคมทั่วโลกจึงแตกต่างกัน
ประโยชน์ ช่วยให้เข้าใจการถ่ายทอด
ทางกรรมพันธุ์ที่ต่างกันไปในชนกลุ่มต่างๆ
รวมทั้งเข้าใจการถ่ายทอดทางสังคม
ที่เกิดจากการเรียนรู้ มานุษยวิทยาเห็น
ความสำคัญของวัฒนธรรมในการปรับตัว
ของมนุษย์ต่อสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
และทางสังคม
แนวคิดและทฤษฎี
ทฤษฎีโครงสร้างหน้าที่
ทฤษฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
ทฤษฎีนิเวศน์วิทยาวัฒนธรรม
ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม
แนวคิดความล้าหลังทางวัฒนธรรม
แนวคิดมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ
วัฒนธรรมของชน
ในทวีปต่าง ๆ
วัฒนธรรมต่าง ๆ
เกิดขึ้นในโลก
ได้อย่างไร
วัฒนธรรมชาวยุโรป
วัฒนธรรมชาวยุโรป
วัฒนธรรมอเมริกาใต้
วัฒนธรรมแอฟริกา
วัฒนธรรมเอเชีย
ลักษณะอุปนิสัย
ประจำชาติ
ลักษณะอุปนิสัยประจำชาติ
กับวัฒนธรรมที่แตกต่างกัน
แต่ละประเทศมีความเป็นมาและ
สภาพภูมิศาสตร์ที่แตกต่างกัน
แต่ละประเทศมีวัฒนธรรมแตกต่างกัน
แต่ละประเทศมีกระบวนการสังคมกรณ์/
สังคมประกฤติแตกต่างกัน
ปัญหาการศึกษาอุปนิสัยประจำชาติ
การมองอุปนิสัยประจำชาติของชาติอื่นในทางนิเสธ
ลักษณะนิสัยประจำชาติของคนไทย
ในทรรศนะต่าง ๆ
ค่านิยมของคนไทย
ในทรรศนะต่าง ๆ
การสังคมสงเคราะห์
ความหมาย
ศิลปการนำเอาทรัพยากรต่าง ๆ
มาใช้สนองความต้องการของบุคคล
กลุ่มชนและชุมชน โดยใช้วิธีตามหลัก
วิทยาศาสตร์มาประยุกต์
ซึ่งช่วยให้บุคคลเหล่านั้นช่วยตัเองได้
วิธีการของ
สังคมสงเคราะห์
แบบเฉพาะราย, แบบกลุ่ม,
แบบการจัดระเบียบชุมชน,
แบบสำรวจวิจัยทางสังคมสงเคราะห์,
แบบสวัสดิการสังคม,
ความรู้ที่จะนำมาใช้
ในการสัคมสงเคราะห์
สังคมสงเคาะห์เป็นงานที่มีขอบเขตกว้าง
เช่น ความรู้ด้านสังคมวิทยา จิตวิทยา
จิตวิทยาสังคมเศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์
และรัฐศาสตร์