Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นางสาวสุกฤตา แพงอุ่ม ปี2 รุ่น37 เลขที่88 (62111301091), การพยาบาลทารกที่มี…
นางสาวสุกฤตา แพงอุ่ม ปี2 รุ่น37 เลขที่88 (62111301091)
การพยาบาลทารกที่มีภาวะเสี่ยง
จำแนกทารกแรกเกิด
ตามน้ำหนัก
LBW infant
Very low birth weight
น้ำหนักน้อยกว่า 1,500กรัม
Extremely
low birth weight (ELBW)
น้ำหนักน้อยกว่า1,000กรัม
NBW infant
ทารกแรกเกิดหนัก 2,500 กรัม ถึงประมาณ3,800 – 4,000 กรัม(Neonatal period)
ตามอายุครรภ์
Preterm infant(เกิดก่อนกำหนด) คือ ทารกแรกเกิดอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
Term or mature infant(ครบกำหนด คือทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภมากกว่า 37สัปดาห์ ถึง 41 สัปดาห์
Posterm infant(เกิดหลังกำหนด) ทารกแรกเกิดที่มีอายุครรภ์มากกว่า 41 สัปดาห์
สาเหตุ
มารดา
ความดันโลหิตสูง รกลอกตัวก่อนกำหนด แท้งไตรมาส1,เลือดออกไตรมาส2/3
เบาหวาน,หัวใจ,ไต,ติดเชื้อ
+
ครรภ์แฝด , ติดสารเสพติด
ฐานะไม่ดี,อายุ<16หรือ>35
ทารก
โครโมโซม
ติดเชื้อ
ลักษณะทารกก่อนกำหนด
น้ำหนักน้อย
ผิวหนังบางสีแดงและเหี่ยวย่น
ลายฝ่ามือฝ่าเท้ามีน้อย/เรียบ,เล็บมือเล็บเท้าอ่อนนิ่มและสั้น
กล้ามเนื้อและไขมันใต้ผิวหนังน้อย
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี
หายใจไม่สม่ำเสมอ ร้องเบา หัวนมเล็ก ท้องป่อง
อวัยวะเพศเล็ก เพศชายอัณฑะไม่ลงถุง รอยย่นถุงน้อย เพศหญิงเห็นแคมเล็กชัด
ปัญหาทารกคลอดก่อนก่อนกำหนด
การความคุมอุณหภูมิ
Hypothermia (< 36.5 องศาเซลเซียส) (อัตราการตายเพิ่มขึ้น)
การเพิ่มการเผาผลาญและภาวะกรด
น้ำตาลในเลือดต่ำ(Hypoglycemia)
ภาวะขาดน้ำ(Dehydration)
น้ำหนักลด (Poor Weight Gain)
ภาวะล้าไส้เน่า (NEC)
ภาวะหยุดหายใจ(Apnea)
ภาวะเลือดออก (Bleeding Disorder)
การวัดอุณหภูมิทารก
ทวาร
ก่อนกำหนด วัดนาน 3น. ลึก 2.5 ซม.
ครบกำหนด วัดนาน 3น. ลึก 3.0 ซม.
รักแร้
ก่อนกำหนด วัดนาน 5 น.
ครบกำหนด วัดนาน 8น.
การดูแล
อุณหภูมิเหมาะสม 32-34 องศาเซลเซียส
ใช้ warmer, incubator หรือผ้าห่มห่อตัว
เลี่ยงใกล้แอร์ พัดลม ระวัง“Cold stress”
การดูแลในตู้อบ
ไม่เปิดตู้อบโดยไม่จำเป็น
ป้องกันการสูญเสียความร้อนร่างกาย4ทาง
ตรวจอุณหภูมิทุก4ชม.และปรับให้เหมาะกับทารก
ทำความสะอาดตู้ทุกวัน
ปรับอุณหภูมิ เริ่มที่ 36 และปรับเพิ่มครั้งละ 0.2 ทุก 10-15 นาที(สุด 38)
ใส่ปรอทสำหรับวัดอุณหภูมิในตู้อบ
ทางเดินหายใจและพิษออกซิเจน
APGAR Score
0 คะแนน
ลักษณะสีผิว ตัวเขียวคล้ำ ซีด
(Pluse/Heart rate) ไม่มี
+
สีหน้าเมื่อถูกกระตุ้น ไม่มีการตอบสนอง
(Activity/Muscle tone) อ่อนปวกเปียก
การหายใจ- ไม่หายใจ
1 คะแนน
ลักษณะสีผิว เขียวปลายมือปลายเท้า
(Pluse/Heart rate) น้อยกว่า 100ครั้ง/นาที
สีหน้าเมื่อถูกกระตุ้น -หน้าเบะ/เคลื่อนไหวเล็กน้อย
(Activity/Muscle tone)-งอแขนขาบ้าง
การหายใจ-ช้าไม่สม่ำเสมอ
2 คะแนน
กษณะสีผิว-สีชมพู
(Pluse/Heart rate) มากกว่า 100ครั้ง/นาที
สีหน้าเมื่อถูกกระตุ้น -ร้องเสียงดัง
(Activity/Muscle tone)-เคลื่อนไหวดี
การหายใจ-ดี ร้องดัง
Severe asphyxia 0-2
Moderate asphyxia3-4
Mild asphyxia 5-7
No asphyxia8-10
RDS
หายใจลำบากจากขาดสารลดแรงตึงผิวของถุงลม
หายใจมีเสียง Grunting
ถ่ายรังสีปอด มีลักษณะ ground glass appearance
อาการเขียว ,เลือดเป็นกรด
การป้องกัน
กระตุ้นให้เกิดสารลดแรงตึงผิว ในมารดาเสี่ยงคลอดก่อนกำหนดแต่ถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
ป้องกันไม่ให้ทารกขาดออกซิเจนในระยะแรกเกิด
ให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
รักษาสมดุลน้ำ อิเลคโตรไลท์สมดุลกรด ด่างในเลือด
รักษาระดับฮีโมโกลบินในเลือดและความเข้มข้นของเม็ดเลือดแดงอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่สงสัยว่ามีการติดเชื้ออร่วมด้วย
การติดเชื้อ
NEC (Necrotizing Enterocolitis)
ระบบหัวใจ,เลือด
การรักษา
ให้ยาibuprofen
ยับยั้งการสร้างprostaglandinทำให้ PDA ปิด
ทุก 12-24 ชั่วโมง จำนวน 3-4 ครั้ง
ได้ผลดีในทารกน้ำหนักตัว 500-1500 กรัม อายุครรภ์น้อยกว่า 32 สัปดาห์ และอายุไม่เกิน 10 วัน
เลือดออกในช่องสมอง
IVH (Intra-ventricular Hemorrhage)
Hydrocephalus
โภชนาการ
การพยาบาล
ให้อาหารอย่างเหมาะสมกับสภาพของทารก
gavage feeding
IVF ให้ได้ตามแผนการรักษา
ระวังภาวะ NEC: observe อาการท้องอืด content ที่เหลือ
ประเมินการติบโตชั่งน้ำหนักทุกวัน
การพยาบาลทารกคลอดก่อนกำหนด
การควบคุมอุณหภูมิอยู่ในระดับปกติ
จัดให้อยู่ในอุณหภูมิที่ทำให้ทารกใช้ออกซิเจนและสารอาหารน้อยที่สุด
ป้องกันการสูญเสียความร้อนของร่างกายทั้ง 4 ทาง
ประเมินอุณหภูมิตามอาการทารก
ให้ได้รับออกซิเจนเพียงพอ
ประเมินการหายใจการใช้แรง retraction
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ดูดเสมหะ(ถ้ามี)
กระตุ้นเมื่อทารกกลั้นหายใจ และรายงานแพทย์
ดูแลให้ได้รับยาและออกซิเจนตามแผนการรักษา
ให้ความอบอุ่นทารก ไม่จับทารกเกินความจำเป็น
การให้สารน้ำ/อาหารเพียงพอ
งดน้ำ/อาหารและให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ดูแลให้อาหารทางปากเมื่อแพทย์พิจราณาเริ่มให้ทางปากเริ่มจากทีละน้อยๆ
ส่งเสริมให้ทารกได้รับนมจากมารดา เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ประเมินความสามารถในการได้รับนมของทารก
ชั่งน้ำหนักทุกวัน
ป้องกัน/หลีกเลี่ยงให้ทารกใช้พลังงานมากกว่าปกติ
การป้องกันการติดเชื้อ
ล้างมือให้สะอาดก่อน-หลังให้การพยาบาล
เครื่องมืออุปกรณ์ผ่านการฆ่าเชื้อ ใช้เฉพาะตน
ดูแลความสะอาดทั่วไป/สิ่งแวดล้อม
ป้องกัน/เลี่ยงปัจจัยทำให้ติดเชื้อ
ป้องกันน้ำตาลในเลือดต่ำ
ดูแลให้ทารกได้รับน้ำ,นมทางปาก สารอาหารทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ป้องกันสาเหตุน้ำตาลในเลือดต่ำเช่น หายใจลำบาก,อุณหภูมิร่างกายต่ำ
ติดตามผลDTX,blood sugar ประเมินอาการทางคลินิก
Hyperbilirubinemia
1.ตัวเหลืองจากสรีรภาวะ จาการสร้างบิลิรูบินมากกว่าผู้ใหญ่ จากเม็ดเลือดแดงอายุสั้น พบวันที่2-4หลังคลอด 1-2สัปดาห์หายไปเอง
2.ตัวเหลืองจากพยาธิภาวะ จากบิลิรูบินสูงกว่าปกติ สาเหตุจากการดูดซึมบิลิรูบินลำไส้เพิ่มขึ้น , ตับไตจับกินบิลิรูบินน้อยลงจากภาวะต่างๆ หรือการสร้างบิลิรูบินมากกว่าปกติ
การพยาบาล
สังเกตลักษณะอุจจาระระหว่างการส่องไฟ
ดูแลให้ทารกได้ตรวจเลือดหาบิลิรูบินอย่างน้อยทุก12 ชม. เพื่อตรวจความก้าวหน้าของโรค
สังเกตอาการภาวะแทรกซ้อนหลังการส่องไฟรักษา
คำศัพท์
RDS = Respiratory distress syndrome
NEC =Necrotizing enterocolitis
ROP = Retinopathy of prematurity
BPD =Broncho pulmonary dysplasia
MAS = meconium aspiration syndrome การสูดสำลักขี้เทาในทารกแรกเกิด
MSAF = ภาวะขี้เทาปนในน้ำคร่ำmeconium stained amniotic fluid
PPHN =persistent pulmomary hypertension of the newborn ภาวะความดันหลอดเลือดในปอดสูงในทารกแรก
DIC=Disseminated Intravascular Coagulation ภาวะที่กลไกการแข็งตัวของเลือดทำงานผิดปกติและเกิดการ
แพร่กระจาย ซึ่งอาจนำไปสู่การเกิดลิ่มเลือดที่ทำให้เส้นเลือดอุดตันทั้งแบบกึ่งเฉียบพลันหรือเรื้อรัง