Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินสภาพและการพยาบาลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด - Coggle Diagram
การประเมินสภาพและการพยาบาลมารดาในระยะที่ 2 ของการคลอด
อาการ
POSITIVE SIGNS
ตรวจภายในไม่พบขอบของปากมดลูก ส่วนนำของทารกถูกผลักดันให้เคลื่อนต่ำลงมาโผล่พ้นปากช่องคลอดทำให้มองเห็นชัดเจน(HEAD SEEN)
Probable signs
รู้สึกอยากเบ่งตรวจทางทวารหนักไม่พบขอบ Cx. พบ Bloody show มากขึ้น Membrane rupture ฝีเย็บโป่งตึง ทวารหนักตุง ปากช่องคลอดอ้าเล็กน้อย มองเห็นส่วนนำทางช่องคลอด
หน้าที่ของพยาบาลผู้ช่วยคลอด
ช่วยจัดท่าผู้คลอด
เตรียมและดูแลความครบถ้วนของอุปกรณ์ในการทำคลอดเช่นถังผ้าเปลื้อนไฟตั้งเทน้ำยาเตรียม Radiant wormer
ช่วยเชียร์เบ่งคลอด
ดูแลความสุขสบายทั่วไปของผู้คลอด
ฟังเสียงหัวใจทารกและประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5 นาทีพร้อมลงบันทึก
รายงานหัวหน้าเวรเมื่อมีความผิดปกติ
บันทึกเวลาคลอดชั่งน้ำหนักเขียนและผูกป้ายข้อมือเช็ดตัวทารก
วัดความดันโลหิตหลังรกคลอดถ้า BP 130/90 mmHg ฉีด Methergin 0.2 mg ถ้า BP สูงกว่า 130/90 mmHg ฉีด Syntocinon 10 ยูนิต
นำทารกไปดูดนมมารดาบนเตียงคลอด
เช็ดตาป้ายตาเช็ดสะดือทารกและฉีดวิตะมินเคฉีดวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบีวัคซีนบีซีจี
การประเมินสภาพ
การประเมินสภาวะทารกในครรภ์ ควรฟัง FHS ทุก 5 นาที
ปกติ 120-160 ครั้ง/นาที
หากต่ำกว่าหรือมากกว่า ทารกในครรภ์อาจอยู่ในภาวะเครียด(FETAL DISTRESS)
การประเมินสภาวะผู้คลอดเช่น การสังเกตอาการผิดปกติต่างๆ
เช่น อาการเหนื่อย อ่อนเพลีย การขาดน้ำ เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทันที
การพยาบาลมารดา
การดูแลเกี่ยวกับการดำเนินการคลอด
การสังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
การสังเกตการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การเจาะถุงน้ำกรณีถุงน้ำยังไม่แตกควรพิจารณาทำ ARM
ในครรภ์แรกยังไม่มีการคลอดใน 1 ชั่วโมงครรภ์หลังยังไม่มีการคลอดใน 30 นาทีควรรายงานแพทย์
หลังคลอดทารกผู้ทำคลอดต้องประเมินทารกและให้คะแนน Apgar ถ้าทารกมีคะแนน Apgar ต่ำต้องตามกุมารแพทย์ร่วมในการดูแลรักษา