Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
septic shock ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ - Coggle Diagram
septic shock
ภาวะช็อกจากการติดเชื้อ
1.ซักประวัติ
CC : 3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการปวด บวม แดง ร้อน บริเวณน่องด้านขวา และมีอาการเหนื่อยหอบ หายใจสั้นๆ รู้สึกหายใจไม่ออก
PI : ผู้ป่วยหญิงไทยอายุ 59 ปี รูปร่างสมส่วน รู้สึกตัวดี ถามตอบรู้เรื่อง 5 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ เหนื่อยหอบ เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลบ้านเเท่นได้รับยา ATB ยาปฏิชีวนะ หรือแอนตี้ไบโอติก (Antibiotic)ขณะเข้ารับการรักษามีปัญหา ความดันเลือดเฉลี่ยลดลง จึงถูกส่งตัวมาเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลชัยภูมิ
สัญญาณชีพแรกรับ
-อุณหภูมิ 37.2 องศาเซลเซียส
-ชีพจร 122 ครั้ง/นาที
-อัตราการหายใจ 24 ครั้ง/นาที
-ความดันโลหิต 105/56 mmHg
2.สาเหตุ
เป็นผลมาจากการติดเชื้อในกระแสเลือดขั้นรุนแรง ซึ่งอาจเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา หรือเชื้อไวรัส โดยมักเป็นการติดเชื้อที่เกิดขึ้นกับระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย
พยาธิสภาพช็อกจากการติดเชื้อ
เมื่อเกิดการอักเสบติดเชื้อ สารพิษจากเชื้อแกรมบวกหรือแกรมลบ
กระตุ้นระบบคอมพลีเมนต์ เม็ดเลือดขาวชนิดต่างๆ ระบบประสาท ทําให้มีการหลั่งสารต่างๆซึ่งจะออกฤทธิ์ทั้งขยายตัวและหดรัดตัวของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
โดยในระยะแรกออกฤทธิ์ ของสารที่ขยายหลอดเลือดมีมากกว่า
ให้ความต้านทานของหลอดเลือดลดลง ทําให้เกิดภาวะขาดเลือดในระบบไหลเวียนในระยะหลั่งสารออกฤทธิ์หดรัดตัวของหลอดเลือด
3.อาการและอาการแสดง
มี capillary filling ช้า ท้องจะอืดมาก ขยายพองโต (abdominal circumference)
หายใจเร็ว หายใจล้มเหลว ไตวาย และอวัยวะต่างๆล้มเหลว
ผู้ป่วยจะมีความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเบา
5.การวินิจฉัยภาวะติดเชื้อ
Clinical diagnosis ของภาวะติดเชื้อ ต้องอาศัยข้อมูลทางคลินิกการซักประวัติ การตรวจร่างกาย อาการแสดงทางคลินิก และผลตรวจทางห้องปฏิบัติการเบื้องต้นที่เข้าเกณฑ์ ของ SIRS
การตรวจทางห้องปฏิบัติการเป็นการวินิจฉัยการติดเชื้อ
2.1 ใชร้ะบุชนิดของเชื้อก่อโรค (pathogen delection)
-วิธีการย้อมสิ่งส่งตรวจ หรือการตรวจทางชีวโมเลกุล เช่น Polymerase Chain Reaction (PCR), DNA hybridization
2.2 ใช้แยกกระบวนการอักเสบที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ (non infectious cause)โดยการตรวจวัดระดับสารต่างๆที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองของ hos
6.บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ
ด้านการป้องกันการติดเชื้อ
ด้านการดูแลผู้ป่วยภาวะติดเชื้อ
7.หลักสําคัญในการรักษาภาวะติดเชื้อรุนแรงและช็อกจากการติดเชื้อ
การรักษาเพื่อกําจัดแหล่งของการติดเชื้อ (Sourc e identification and control)
การรักษาเพื่อปรับสมดุลระบบไหลเวียนโลหิต (Hemodynamic support)
8.ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อในร่างกาย
มีภาวะติดเชื้อรุนแรงร่วมกับภาวะความดันโลหิตต่ำ
เสี่ยงต่อภาวะช็อก เนื่องจากระดับน้ำตาลในเลือดสูง
ผู้ป่วยและญาติมีความวิตกกังวล เกี่ยวกับการเจ็บป่วย
เสี่ยงต่อการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากคาสายสวนปัสสาวะเป็นเวลานาน