Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสัมนาแบบ (Workshop) timeline_20170308_142302, แหล่งอ้างอิง
จิรายุ…
การสัมนาแบบ (Workshop)
ความหมาย
:star: เป็นการประชุมอีกรูปแบบหนึ่งที่ได้รับความนิยมกันมากในบริษัทขนาดใหญ่ , วงการธุรกิจ,อุตสาหกรรม รวมทั้งในองค์การต่างๆ โดยการประชุมในรูปแบบนี้จำเป็นต้องขั้นตอนฝึกปฏิบัติให้แก่ผู้เข้าร่วมประชุม ซึ่งตามปกติแล้วจะมีจำนวนสมาชิกเข้าร่วมประชุมไม่มากทำให้จำนวนบุคคลากรเพียงพอกับอุปกรณ์ในการฝึกปฏิบัติการ โดยมุ้งเน้นฝึกปฏิบัติเป็นส่วนสำคัญ
:star: การประชุมร่วมกันเป็นกลุ่มๆ เป็นระยะเวลานานหลายวัน โดยเน้นการร่วมกันทำงานเพื่อฝึกการแก้ปัญหาโดยผู้เข้าประชุมทุกคนจะต้องมีส่วนร่วมลงมือปฏิบัติ
:star: สมาชิกในห้องประชุมต้องร่วมกันศึกษา , ศึกษาค้นคว้า ตลอดจนทำความเข้า และฝึกปฏิบัติ เพื่อทักษะปฏิบัติงาน ตามหัวข้อประชุมในครั้งนั้น หัวใจสำคัญของการประชุมในรูปแบบนี้ คือ เรียนรู้ , ฝึกปฏิบัติ พร้อมนำไปปฏิบัติในการปฏิบัติงานจริง เช่น ประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างแบบทดสอบแก่บุคลลากร เป็นต้น
วิธีดำเนินการ
- มีการกำหนดเรื่องของการประชุมเชิงปฏิบัติการชัดเจนกำหนดสิ่งที่จะต้องปฏิบัติให้ได้ไว้เห็นได้ชัด และมีกำหนดการหรือตารางดำเนินงานในการประชุมและการฝึกหัดที่สัมพันธ์กับเรื่องที่จัดประชุม
- มีจุดมุ่งหมายสำคัญที่การเพิ่มพูนทักษะ/ความรู้และประสบการณ์ ซึ่งจะส่งผลต่อการเพิ่มพูนประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานในเรื่องที่จัดประชุมปฏิบัติการนั้นๆโดยตรง
- มีการเตรียมในด้านวัสดุอุปกรณ์/สถานที่/เอกสาร/ข้อมูลที่จำเป็นให้พร้อม เพื่อใช้ในการฝึกปฏิบัติสำหรับสมาชิกโดยเฉพาะ
- มีการฝึก / ทดลองปฏิบัติการ หรือ มีการฝึกปฏิบัติกิจกรรมในเรื่องที่จัดประชุม ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญของการประชุม
- จุดเน้นของการประชุมปฏิบัติการนี้อยู่ที่การเตรียมคนให้มีความพร้อมสูงให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในเรื่องที่จัดประชุม และสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานจริงได้
ข้อดี
- มีขั้นตอนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- การประชุมปฏิบัติการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เข้ารับการอบรมทุกคน
- ผู้เข้าอบรมมีอิสระในการคิดและปฏิบัติงานกลุ่ม
- ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำผลการประชุมปฏิบัติการไปใช้ในการดำเนินงานและปฏิบัติงานในหน่วยงานของตน
ข้อเสีย
- ไม่เหมาะกับช่วงระยะเวลาสั้น ๆ
- ใช้เวลาเตรียมขั้นตอนมาก รวมทั้งต้องจัดทำอย่างเป็นระบบ
- จะต้องใช้เจ้าหน้าที่จำนวนมากเพื่ออำนวยความสะดวกต่อผู้เข้ารับการอบรมในแต่ละกลุ่ม
- ต้องใช้เวลามากโดยเฉพาะเวลาสำหรับการปฏิบัติงานกลุ่ม
-
แหล่งอ้างอิง
จิรายุ โพธิ์ศรี. (2560). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสัมมนา. สืบค้นวันที่ 15 พฤษภาคม 2564, จากhttp://www.elfhs.ssru.ac.th
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2559). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม .
Joni Cheng. (2006). TEACHING SEMINAR COURSES. https://commons.georgetown.