Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
hemorrhagic stroke, นางสาว ณัฐมน กิจโชคประเสริฐ เลขที่ 21 ห้อง 2 -…
hemorrhagic stroke
-
ทฤษฏี
-
-
พยาธิสภาพ
ภาวะเลือดออกในเนื้อสมองส่วนใหญ่เป็นผลมาจากการแตกของหลอดเลือดเล็กๆ (small penetrat-ing arteries) ซึ่งเป็นแขนงของหลอดเลือด basilararteries, anterior, middle หรือ posterior cere-bral arteries การเสื่อมของผนังหลอดเลือดส่วนใหญ่เกิดจากความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
ทำให้เกิดการโป่งพองของผนังหลอดเลือดที่เสื่อมที่เรียกว่า Char-col-Bouchard microaneurysmsหลังจากที่เลือดออกในสมอง ผลที่เกิดเป็น อันดับแรกคือสมองที่ถูกเลี้ยงด้วยลอดเลือดที่ฉีกขาดจะมีเลือดมาเลี้ยงลดลงและเกิดสมอง ขาดเลือดได้ ในกรณีที่มี collateral vessel มาเลี้ยงไม่เพียงพอ (territory hypoperfusion)
ซึ่งอาการแสดงจะขึ้นกับบริเวณสมองที่ขาดเลือดและผลต่อมาคือ ขนาดของเลือดที่ออกจะส่งผล ทำให้ปริมาตรเลือดที่มาเลี้ยงสมองรอบๆ ก้อน เลือดออกลดลง (perilesional hypoperfusion)ซึ่งจะแสดงอาการขึ้นอยู่กับสมองที่ได้รับผลจาก ก้อนเลือดควบคุมหน้าที่ส่วนใดของสมอง
-
การรักษา
การรักษาที่ไม่ใช้ยา
-
-
-
-
-
-
intracranial pressure, ICP
-
-
-
ยา
-
Vitemin K,(Phytorwenadione)
-
-
-
Nicardipine
Calcium antagonists
ข้อบ่งใช้ รักษาความดันโลหิตสูงขั้นรุนแรง เป็นยารักษา Angina pectoris ภาวะหัวใจวาย และหลอดเลือดสมองผิดปกติ
กลไกการออกฤทธิ์ :ยาจะยับยั้งช่องทางแคลเซียมที่จะเข้าไปในกล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือดมีผลให้การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจดีขึ้น เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจเพียงพอและความดันโลหิตลดลง
-
ผลข้างเคียง : มีอาการบวม หน้าแดง ใจสั่น ความดันโลหิตต่ำ EKG ผิดปกติ มึนศีรษะ ปวดศีรษะ เป็นลมอ่อนเพลีย กังวล สับสน คลื่นไส้
-
-
ข้อบ่งใช้ = ลดกรดในกระเพาะอาหาร รักษาแผลในลำไส้เล็กส่วนต้น แผลในกระเพาะอาหารหลอด อาหาร อักเสบ รักษาภาวะการหลั่งกรดมากเกิน และ Zollinger-Ellison syndrome
กลไกการออกฤทธิ์ = ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ H+, K+,ATpase ทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนไฮโดรเจนอิออนนอกจากเชลล์ Parietal ของกระเพาะอาหาร จึงยับยั้งการสร้างกรดเกลือในกระเพาะอาหารที่ขั้นตอนสุดท้าย จึงหยุดได้ทั้งกรดที่หลั่งเองตามปกติและกรณีที่เกิดจากการกระตุ้นต่างๆได้อย่างสมบูรณ์
ผลข้างเคียง : อาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปวดศีรษะ มีผื่นขึ้น ลมพิษ อาการคัน ไอมีการติดเชื้อในทางเดินหายใจ มึนงง ปวดหลัง ท้องเดิน ท้องผูก ท้องอืด ง่วงนอน
เหตุผลที่ได้รับยา : เนื่องจากผู้ป่วยดื่มสุรามากร่วมกับเป็นโรคตับแข็งเสี่ยงต่อการเกิดเส้นเลือดแตกในทางเดินอาหารส่วนบนจากการหลั่งกรดในกระเพาะร่วมกับผู้ป่วยมีอาการอาเจียนทำให้ได้รับยาเพื่อลดกรดในกระเพาะ
กรณีศึกษา
-
-
การตรวจ
การตรวจร่างกาย
-
, Pupil Rt 4 mm Lt 3 mm RTL BE
-
-
-
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-
-
Plt count 65,000 cell/mm2
พยาธิสภาพ
จากโรคตับแข็งซึ่งทำให้สร้าง สารป้องกันการแข็งตัวของเลือดได้น้อยลงส่งผลให้เลือดไหลมากหยุดยากและการดื่มสุราจะทำให้แอมโมเนียในเลือดสูงขึ้นประกอบกับการที่ตับมีความสามารถในการกำจัดแอมโมเนียลดลง ดังนั้นแอมโมเนียจะเข้าสู่สมองผ่าน blood-brain-barrier ซึ่ง permeability จะเพิ่มในภาวะตับแข็ง
แอมโมเนียที่ผ่านblood-brain-barrier เป็น neurotoxin ต่อ cerebellum และ basal ganglion ทำให้เกิดภาวะสมองบวมเนื่องจาก neuroactive compounds บางตัว เช่น myoinositol ผิดปกติไปจากเดิมและทำให้บริเวณสมองเกิดความดันกะโหลกศีรษะสูงขึ้น เกิดการเเตกของหลอดเลือดขนาดเล็กในสมองขึ้น
-
-
-