Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน เเละดุลภาพการตลาด - Coggle Diagram
อุปสงค์ อุปทาน เเละดุลภาพการตลาด
อุปสงค์(DEMAND)
ความต้องการ(want)
อุปสงค์ที่ทรงประสิทธิผล(EFFECTIVE DEMAND)
ความเต็มใจหรือยินดีที่จะซื้อ
ความสามารถที่จะจ่ายได้
มีอำนาจซื้อ
การเปลี่ยนเเปลงในปริมาณอุปสงค์เเละการเปลี่ยนเเปลงระดับอุปทาน
การเปลี่ยนเเปลงในปริมาณของอุปสงค์(Change in quantity demanded)เป็นการเปลี่ยนเเปลงที่เกิดขึ้นมากจากสาเหตุการเปลี่ยนเเปลงของราคาสินค้า
การเปลี่ยนเเปลงในระดับอุปสงค์(Change indemand)เป็นการเปลี่ยนเเปลงของปัจจัยที่กำหนดอุปสงต์อื่นๆที่ไม่ใช่ราคา
อำนาจการซื้อ(Purchasing power)
กฎของอุปสงค์ (LAw of Demand)
ปัจจัย
ราคาสินค้า ระดับรายได้ของผู้บริโภค รสนิยมของผู้บริโภค ราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง ประชากร การคาดคะเน
"ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้บริโภคต้องการซื้อเเปรผกผันกับราคาของสินค้าทั้งหมด"
ผลทางรายได้
เมื่อราคาเปลี่ยนเเปลงจะส่งผลให้รายได้ที่เเท้จริง(Real Income)"เงินเท่าเดิม ซื้อของได้ มากขึ้น"
ผลทางการทดเเทน
เมื่อราคาสินค้าชนิดหนึ่งเปลี่ยนเเปลงโดยที่ราคาสินค้าอีกชนิดหนึ่ง ยังคงเหมือนเดิม จะให้ราคาเปรียบเทียบ(Relative Price) "ซื้อของถูก เเทนของเเพง"
1.อุปสงค์ต่อราคา(price demand)
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น(P)ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง(Qd)
3.อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น(cross Demand)
3.1 สินค้าที่ใช้ทดเเทนกันได้ (Substitute goods)
ใช้เเทนกันด้วยวัตถุประสงค์เดียวกันเเละความสามารถใช้เเทนกันได้
3.2 สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้(Complementary goods)
ต้องใช้ร่วมกับสินค้าอื่นเมื่อสินค้าหนึ่งเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะมีผลทำให้ปริมาณการเสนอสินค้าอีกหนึ่งชนิด เปลี่ยนเเปลงตามไปขาดสิ่งใดสิ่งหนึ่งไม่ได้เลย
3.3 สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent goods)
ไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลยเเละให้ประโยชน์คนละด้าน
2.อุปสงค์ต่อรายได้(Income demand)
ปริมาณเสนอซื้อ(Qd)ของผู้บริโภคที่เปลี่ยนเเปลงไปตามระดับรายได้(Y)ของผู้บริโภค
อุปสงค์ส่วนบุคคล(Individual Demand)
ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคเเต่ละคน ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้านั้น
อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใดๆ (Market Demand)
ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคนในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
อุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ(Demand of health) DH=f(S,P,Y,SS,A,GD,GE,EDU)
อุปสงค์ต่อสุขภาพ(Demand for health) เป็นความต้องการหรือความจำเป็นที่ผู้บริโภคเเสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายเเละจิตใจ ณ ระดับราคาเงา
อุปสงค์ต่อราคาการรักษาพยาบาล(Demand for health care) ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคจะรับบริการ ณ ระดับราคาต่างๆกัน
Normative need
Felt need
Express need
Comparative need
อุปทาน(Supply)
ปริมาณสินค้า(Q)เเละบริการที่ผู้ผลิตยินดีเสนอขาย ณ ระดับราคา(P) ต่างกัน
อุปทานของหน่วยผลิต( Individual Supply)
อุปทานของหน่วยผลิตของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับต่างๆ
อุปทานตลาด(Market Supply)
อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตทุกรายในตลาดต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลหนึ่ง ณ ระดับต่างๆ
กฎของอุปทาน(Law of Supply)
ปัจจัย
ราคาของสินค้าอื่นอาจผลิตได้ ราคาของการผลิตเทคโนโลยีการผลิต จำนวนผู้ผลิต สภาพดินฟ้าอาาศนโยบายรัฐบาล
"ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายเเปรผันตามระดับราคาสินค้า"
การเปลี่ยนเเปลงในปริมาณอุปทานเเละการเปลี่ยนเเปลงระดับอุปทาน
การเปลี่ยนเเปลงในปริมาณอุปทาน (Cnange in quantity supplied)เป็นการเปลี่ยนเเปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนเเปลงในทิศทางเดียวกัน
การเปลี่ยนเเปลงในระดับอุปทาน (Cnange in quantity supplied)เป็นการเปลี่ยนเเปลงของปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื่องจากการ เปลี่ยนเเปลงของปัจจัยอื่นๆจะทไให้เส้นอุปทานเลื่อนไปทั้งเส้น
อุปทานกับงานสาธารณสุข
เป็นบริการที่ผู้ผลิตยินดีที่จะเสนอให้กับผู้บริโภค ณ ระดับราคาต่างๆกันไป
อุปทานในการบริการทางการเเพทย์ (Supply for healt services)จะหมายถึงจำนวนชั่วโมงที่ให้บริการเมื่อเทียบกับค่าตอบเเทนที่บุคคลากรเหล่านี้พึงได้รับจากการให้บริการนั้น
อุปทานในเ้านการบริการสาธารณสุข (Supply for public health) บริการในโรงพยาบาล (จำนวนเตียงชั่วโมงการให้บริการ )ยารักษาโรค
ตลาดเเละตลาดสุขภาพ
สถานที่่ที่ผู้ซื้อเเละผู้ขายสามารถเเลกเปลี่ยนซื้อขายกันได้ไม่ว่าจะมีสถานที่ทางการซื้อขายหรือไม่ก็ตาม
ดุลยภาพของตลาด
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปสงค์+อุปทาน
กลไกราคา ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเสนอซื้อเเละเสนอขายสินค้า
อุปทานส่วนเกิน (Excess demand)ปริมาณเสนอซื้อสินค้ามากกว่าปริมาณเสนอขาย
อุปทานส่วนเกิน( Excess supply ) ปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อสินค้า