Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด, นางสาวกัญญารัตน์ ภู่ปัญญาชน 1B เลขที่ 6…
อุปสงค์ อุปทาน
และดุลยภาพการตลาด
อุปสงค์ (Demand)
ความหมาย
ความต้องการซื้อที่จะมีผลอย่างแท้จริงหรือที่เรียกว่า อุปสงค์ที่ทรงประสิทธิผล(Effective Demand) จะต้องประกอบด้วย
ความเต็มใจหรือความยินดีที่จะซื้อ
ความสามารถที่จะจ่ายได้
การมีอำนาจซื้อ
กฎของอุปสงค์
1.อุปสงค์ต่อราคา หมายถึง ปริมาณเสนอซื้อสินค้า ณ ระดับราคาต่างๆกันของสินค้า ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยกำหนดปัจจัยอื่นคงที่
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
ถ้าราคาสินค้าลดลง ปริมาณการซื้อสินค้าจะเพิ่มขึ้น
3.อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น หมายถึง ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภค ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องในด้าน
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน
2.อุปสงค์ต่อรายได้ หมายถึง ปริมาณเสนอซื้อของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผู้บริโภค
อุปสงค์ส่วนบุคคล : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของผู้บริโภคแต่ละคน ณ ระดับราคาต่างๆของสินค้านั้น
อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใดๆ : ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคนในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้าต่างๆ
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์
ราคาของสินค้า
ระดับรายได้ของผู้บริโภค
รสนิยมของผู้บริโภค
ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ขนาดของประชากร
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปสงค์และการเปลี่ยนแปลงในระดับอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณของอุปสงค์
เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางราคาสินค้าและการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นบนอุปสงค์เส้นเดียว
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปสงค์
เป็นการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์อื่นๆที่ไม่ใช่ราคา และการเปลี่ยนแปลงจะเกิดขึ้นในเส้นอุปสงค์เส้นใหม่
อุปทาน (Supply)
ความหมาย
ปริมาณสินค้าและบริการที่ผู้ผลิตยินดีเสนอขาย ณ ระดับราคาต่างๆกัน
อุปทานของหน่วยผลิต : อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตรายใดรายหนึ่ง ต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ ของราคาสินค้าหรือบริการชนิดนั้น
อุปทานตลาด : อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบริการของผู้ผลิตทุกรายในตลาดต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลาหนึ่ง ณ ระดับต่างๆของราคาสินค้าหรือบริการชนิดนั้น
กฎของอุปทาน
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
ถ้าราคาสินค้าลดลง ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน และการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
เป็นการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณการเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิสทางเดียวกัน
ปัจจัยกำหนดอุปทานตลาด
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้นทุน)
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
สภาพดินฟ้าอากาศ
นโยบายรัฐบาล
อุปสงค์ และ อุปทาน กับงานสาธารณสุข
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
ความจำเป็นที่อาศัยหลักอุปสงค์
Normative need ความจำเป็นที่ควรมี
Felt need ความจำเป็นที่ตระหนัก
Express need ความจำเป็นที่แสดงออก
Comparative need ความจำเป็นเปรียบเทียบ
อุปสงค์ต่อสุขภาพ
เป็นความต้องการหรือความจำเป็นที่ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ ณ ระดับราคาเงา
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล
ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคจะรับบริการ ณระดับราคาต่างๆกัน
ปัจจัยกำหนดพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อบริการสุขภาพ
ความรุนแรงของโรค
ราคาค่าบริการ
ระดับรายได้
ฤดูกาล
ปัจจัยด้านอายุ
เพศ
พันธุกรรม
พื้นฐานการศึกษา
อุปทานกับงานสาธารณสุข
เป็นบริการที่ผู้ผลิตยินดีที่จะเสนอให้กับผู้บริโภค ณ ระดับราคาต่างๆกันไป
ลักษณะพิเศษของการบริการสุขภาพ
บริการสุขภาพจับต้องไม่ได้
การผลิตและการบริโภคเกิดขึ้นพร้อมกัน
บริการสุขภาพไม่สามารถทำสำรองหรือเก็บไว้ล่วงหน้าได้
อุปทานในการบริการทางการแพทย์
จะหมายถึงจำนวนชั่วโมงที่ให้บริการเมื่อเทียบกับค่าตอบแทนที่บุคลากรเหล่านี้พึงได้รับจากการให้บริการนั้น
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข
บริการในโรงพยาบาล (จํานวนเตียง ชั่วโมงการให้บริการ) ยารักษาโรค
ตลาดและตลาดสุขภาพ
ตลาดการให้บริการของโรงพยาบาล
ตลาดประกันสุขภาพ
ตลาดแรงงานทางการแพทย์
ตลาดการรักษาทางการแพทย์
ดุลยภาพของตลาด
อุปสงค์ + อุปทาน
กลไกลราคา ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเสนอซื้อและการเสนอขาย
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกินขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
นางสาวกัญญารัตน์ ภู่ปัญญาชน 1B เลขที่ 6 รหัส 63123301008