Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Thyphoid - Coggle Diagram
Thyphoid
การพยาบาลที่สำคัญ
การรักษาประคับประคองตามอาการ เช่น การให้ยาลดไข้พาราเซตามอล (Paracetamol) ร่วมกับการใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดตัวเมื่อมีไข้สูง และการให้กินสารน้ำทางหลอดเลือดดำ/ORS
การเฝ้าระวังภาวะ Shock ผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียนมาก ท้องเสียรุนแรง และท้องบวม ควรให้ได้รับสารละลายทางหลอดเลือด
-
-
การเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ หลังรักษาหายไปแล้ว 2 สัปดาห์ ให้สังเกตอาการ หากกลับเป็นซ้ำให้มารับการรักษา ด้วยยาปฏิชีวนะอย่างน้อย 1 สัปดาห์
ผู้ที่เป็นพาหะ (Carrier) เมื่อรักษากายแล้ว บางรายอาจจะมีเชื้อไทฟอยด์หลบซ่อนอยู่ในถุงน้ำดี ดังนั้นต้องมีการติดตามผู้ป่วย โดยการนำอุจจาระไปเพาะเชื้อ
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วย ดื่มน้ำ/รัปประทานอาหารสะอาด ล้างมือทุกครั้งก่อนปรุง/รับประทานอาหาร ถ่ายอุจจาระถูกสุขลักษณะ
การวินิจฉัยโรค
-
การตรวจทางห้องปฏิบัตการ
-
การทดสอบไวดาล (Widal test) เป็นการตรวจหาสารก่อภูมิต้านทานหรือแอนติเจน มักจะตรวจพบหลังจากที่ผู้ป่วยมีอาการมาแล้วประมาณ 7-10 วัน
-
-
-
-
-
พยาธิสภาพ
เมื่อเชื้อ leptospires เข้าสู่ทางผิวหนังหรือเยื่อบุที่มีแผล เชื้อจะเข้าสู่กระแสเลือดภายใน 24 ชั่วโมง และการกระจายไปตามอวัยวะต่าง ๆ เนื่องจากเชื้อสามารถเคลื่อนไหวได้อย่างรวดเร็วจึงไม่มีการอักเสบที่ ตำแหน่งทางเข้าของเชื้อ เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะอยู่ในสภาวะแวดล้อมต่างจากภายนอกมาก เชื้อซึ่งก่อโรคได้สามารถ ปรับตัวเจริญเติบโตและเพิ่มจำนวนจนก่อให้เกิดพยาธิสภาพในอวัยะต่างๆได้ในคนที่ไม่เคยมีภูมิคุ้มกันต่อโรคนี้มาก่อน