Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท, 99B80C2A-C609-40E5-BF50-E1A70A5FDF73…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง(Febrile convulsion)
เป็นการชักที่เกิดจากการมีไข้แต่ไม่ได้
เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท
เเบ่งได้เป็น 2 ชนิด
Simple Febrile convulsion
ชักทั้งตัว ระยะเวลาไม่เกิน 15 นาที ไม่เกิดการชักซ้ำ
Complex Febrile convulsion
ชักเฉพาะที่ของร่างกาย ไม่เกิดอาการชักซ้ำ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อในระบบต่างๆเด็กจะชัก
เมื่ออุณหภูมิร่างกายมากกว่า 39 องศาเซลเซียส
อาการเเละอาการเเสดง
ตัวร้อน หน้าเเดง
มึงงงสับสน
กระสับกระส่าย
ชักเกร็งหรือชักกระตุก ตาลอย ไม่รู้สึกตัว
การรักษา
ระยะชัก
ถ้าชักเกิน 5 นาที ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุด
โดยการให้ยาระงับชัก
Diazepam
ให้ยาลดไข้ร่วมกับการเช็ดตัวลดไข้
ระยะหลังชัก
ซักประวัติให้ละเอียด
ให้ยาป้องกันการชัก รับประทานทุกวัน นาน 1-2 ปี
Phenobarbital
Depakine
การพยาบาล
วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
ให้ยาลดไข้ร่วมกับการเช็ดตัว
จัดท่านอนตะแคงศีรษะต่ำกว่าลำตัวเเละดูดเสมหะถ้ามีเสมหะ
ไม่ผูกยึดเด็กเพราะอาจทำให้เด็กข้อไหล่หลุดหรือกระดูกหัก
ไม่ใส่ไม้กดลิ้นลงไปในปากเพราะอาจทำให้
ฟันหักเมื่อฟันหักอาจไปอุดกั้นทางเดินหายใจ
ระวังอุบัติเหตุขณะชัก
สังเกตและบันทึกระยะเวลาเเละอาการชัก
โรคลมชัก(Epileepsy)
เกิดขึ้นอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป
ไม่สัมพันธ์กับไข้
เเบ่งได้เป็น 3 ชนิด
Generalized seizure
Tonic seizure
เกร็งเเข็ง ล้มไปเลย
Clonic seizure
กระตุกเป็นจังหวะ
Tonic clonic seizure (Grand mal)
มีการเกร็งก่อนเเล้วกระตุก
Atonic seizure
สูญเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
Myoclonic seizure
มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเวลาสั้นๆ
Absence seizure (Petit mal)
ตากระตุก
Infantile spam
เด็ก 3 เดือนถึง 2 ปี งอหัว ลําตัว
แขนขาในเวลาสั้นๆแล้วจึงคลายออกคล้ายสะดุ้ง
Partial seizure ชักเฉพาะที่
Simple partial seizure
กระตุกแขนขาหรือชา แปบนึง 5-10 วินาที
Complex partial seizure
ชักแล้วมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Partial seizure evolving to
secondary generalize seizure
มีอาการชักของ simple และ complex
แล้วยังชักหรือกระตุกทั้งตัว
Unclassified epileptic seizure
จัดกลุ่มไม่ได้
สาเหตุ
มีรอยโรคในเนื้อสมอง ทำให้มีการหลั่ง
คลื่นสมองผิดปกติจึงมีอาการชักตามมา
การรักษา
ให้ Diazepam ทางหลอดเลือดดํา ถ้าผู้ป่วยยังไม่หยุดชัก
ภายใน 2-5 นาทีจะให้ Diazepam อีกครั้ง
ถ้าอีก 5 นาทียังไม่หยุดชัก จะให้ phenytoin
หลัง 20-30 นาที จับชีพจรเเละวัดความดัน
ยากันชัก ต้องทานต่อเนื่องและ
ต้องดูผลการรักษาตลอด
Benzodiazepine : Diazepam ทำให้ง่วง
มีเสมหะมากกว่าปกติ
Phenobarbita ง่วงซึม เดินเซ
Phenytoin(dilantin) เห็นภาพซ้อน
คลื่นไส้อาเจียน เหงือกหนา มีภาวะซีดจากFolic acid ต่ำได
Valproic acid ง่วงซึม มือสั่น
Meningitis เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
มาจากการติดเชื้อ
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส เเบคทีเรีย เชื้อรา พยาธิ
Cerebrospinal fluid test (CFS)
Pressure เด็กโต : 110-150 mmH2O
ทารก 100 mmH2O
RBC/WBC ไม่พบ
Glucose 50-75 mg/dl
Protein 14-45 mg/dl
อาการ
มีไข้ ปวดศีรษะมากชัก
กระหม่อมโป่งตึง ซึมลง อาเจียน
อาการเเสดง
คอแข็ง(Stiffness of neck)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzin
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
รักษาตามอาการ โดยให้ยากันชัก 💊ยาลดไข้
อาจจะต้องใช้เครื่องช่วยหายใจในรายที่
มีความผิดปกติเกี่ยวกับการหายใจ
การป้องกัน ควรฉีดวัคซีน
Encephalitisไข้สมองอักเสบ
เนื้อสมองผิดปกติ อาจเกิดจากติดเชื้อไวรัส
อาการ
เกิดการคั่ง ของlymphocyte ในเนื้อสมอง
และเยื่อหุ้มทําให้เกิด
ภาวะสมองบวม
ไข้สูง ปวดต้นคอคอแข็ง หายใจ
ไม่สม่ำเสมอเคลื่อนไหวผิดปกติ
การวินิจฉัย
ตรวจน้ำไขสันหลัง พบว่า น้ำไขสันหลังใส ไม่มีสี WBC 10 -1,000 เซลล์/ลูกบาศก์มิลลิเมตร ความดันน้ำไขสันหลังสูงกว่า 180 ml
โปรตีนสูง>40 น้ำตาลปกติ
การรักษา
ยากันชัก
Phenoberbital ยาทีลดอาการบวมของสมอง
ยา Antibiotic เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
การป้องกัน
ฉีดวัคซีนป้องกันไข้สมองอักเสบJE
หลีกเลี่ยงการสัมผัสกับเชื้อหรือพาหะ
การวินิจฉัย
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมองเนื้องอกจาก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ โดยให้ Antibiotic เพื่อลดไข้
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมอง
เนื่องจากภาวะความดันในสมองสูง
อาจเกิดอันตรายต่อเซลล์สมองเนื่องจาก
ภาวะพร่องออกซิเจน โดยให้ออกซิเจน เเละsuction
อาจเกิดภาวะขาดสมดุลของสารน้ำ
Electrolyte และสารอาหาร
อาจเกิดอันตรายจากการชัก เนื่องจากไข้สูง
โรคสมองพิการ(cerebral pulsy)
สาเหตุ
ก่อนคลอด
มารดามีเลือดออกทางช่องคลอด
ขณะตั้งครรภ์ ขาดสารอาหาร
มาดามีภาวะชัก ปัญญาอ่อน
มีการใช้ยาที่ผิดทำให้ทารกมีพัฒนาการทางสมองช้า
ตอนคลอด
🧠สมองขาดออกซิเจน
คลอดยาก
รกพันคอ
หลังคลอด
ได้รับความกระทบกระเทือนทางศีรษะ
เส้นเลือดในสมองผิดปกติ
เกิดจากความบกพร่องของสมองที่ใช้ควบคุม
กล้ามเนื้อทำให้การเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการเเละอาการเเสดง
กลุ่มเกร็ง (Spastic)
กล้ามเนื้อเกร็ง มีการเคลื่อนไหวที่ช้า
ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้
กลุ่มเคลื่อนไหวผิดปกติ(Dystonia)
ควบคุมให้อยู่นิ่งไม่ได้
มีการแสดงสีหน้า คอบิด แขนงอ
กลืนลําบาก รวมถึงกระตุกเร็ว
การรักษา
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อ
Diazepam
ทํากายภาพบําบัดแขน ขา
การให้ early stimulation เพื่อให้สมองส่วนต่างๆ
ที่ไม่มีความเสียหายได้พัฒนา
เเก้ไขความผิดปกติ
การรับรู้ที่สำคัญ
ระบบประสาทส่วนอื่น
Hydrocephalus
เป็นภาวะที่มีการคั่งของน้ำไขสันหลังมากผิดปกติ
ทำให้เกิดความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
สาเหตุ
การสร้างน้ำไขสันหลังผิดปกติ
มีการอุดกั้นการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง
มีความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการเเสดง
ศีรษะโต/หัวบาตร
เด็กเล็กกระหม่อมหน้ายังไม่ปิดแต่โป่งตึงกว่าปกติ
หนังศีรษะบางและมองเห็นเส้นเลือดบริเวณหน้า
มีเสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อเเตก
ตามองภาพมัว เห็นภาพซ้อน และกรอกลงล่าง
รีเฟลกซ์ของขาไวกว่าปกติ
มีอาการของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
พัฒนาการทั่วไปช้ากว่าปกติ
การรักษา
ผ่าตัดรักษาตามสาเหตุ
ผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำไขสันหลัง(Shunt)
(V-P Shunt : ventriculo-peritoneal shunt)
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
อาจเกิดความดันในกะโหลกศีรษะสูงจาก
การคั่งของน้ำไขสันหลัง
ประเมินความดัน
ในกะโหลกศีรษะ
😣ปวดศีรษะ 🤮อาเจียน 😕ซึม
วัดรอบศีรษะทุกวัน
เวลาเดียวกัน
ทำให้ไม่คลาดเคลื่อน
นอนศีรษะสูง15-30องศา
อาจเกิดแผลกดทับบริเวณศีรษะ
ให้นอนในที่นุ่มๆใช้หมอนหนุนศีรษะ ไหล่และเปลี่ยนท่าบ่อยๆ
รักษาความสะอาดบริเวณผิวหนัง
ที่นอนต้องตึงถ้าไม่ตึงอาจทําใหกดศีรษะเด็กได้
ประเมินแผลกดทับอย่างสม่ำเสมอ
อาจเกิดภาวะขาดน้ำและสารอาหารได้เนื่องจาก
มีการสํารอกอาเจียนหรือดูดนมได้น้อย
ดูแลให้ได้รับนมครั้งละน้อยๆแต่บ่อยครั้ง
ขณะให้นมต้องนอนศีรษะสูงเสมอ
หลังให้นมต้องจับเรอเพื่อไล่ลมออก
การพยาบาลหลังผ่าตัด
จัดท่านอนเพื่อป้องการกดทับลิ้นของท่อทางเดินน้ำไขสันหลัง
สังเกตและบันทึกอาการของภาวะแทรกซ้อน
อาการแสดงของความดันในกะโหลกศีรษะสูง
😕ซึม ไม่ดูดนม 🤮อาเจียน 👁ม่านตาขยาย
มีระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยน
กระหม่อมหน้าโป่งตึง
วัดและบันทึก V/S รวมทั้งประเมินอาการทางระบบประสาท
ดูแลแผลให้สะอาดตามแผนการรักษา
ดูเเลให้ได้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
พลิกตะแคงตัวเปลี่ยนท่าบ่อยๆ ป้องกันภาวะปอดอักเสบ
วัดเส้นรอบท้อง หลังผ่าตัด 24 hr.แรก เพื่อประเมินประสิทธิภาพในการดูดซึมน้ำไขสันหลังที่ระบายออกมา
วัดเส้นรอบศีรษะทุกวันเพื่อประเมินการทํางานของท่อระบายน้ำไขสันหลัง
Down's Syndrome
เป็นความผิดปกติของโครโมโซมคู่ที่ 21 ทำให้เกิดปัญญาอ่อน
โอกาสเสี่ยงจะสูงขึ้นมาก ถ้ามารดาอายุมากกว่า 35 ปี
อาการและอาการแสดง
เส้นลายนิ้วมือมักพบ ulnar loop มากกว่าปกติ
กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
หัวเเบนกว้าง
หูติดอยู่ต่ำ
ปากอ้า ลิ้นมักยื่นออกมา มีรอยเเตกที่ลิ้น
มือกว้างเเละสั้น นิ้วก้อยโค้งงอ
❤️พิการเเต่กำเนิด
ร่างกายเจริญเติบโตช้า
ตาเเละหูมีความผิดปกติ
ติดเชื้อทางระบบหายใจได้ง่าย
การพยาบาล
กระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการให้เหมาะสมตามวัย
รักษาโรคทางกายร่วมด้วย
การให้คำปรึกษาและแนะนําด้านพันธุกรรม
Guillain Barre‘s Syndrome
โรคที่เกิดจากการบวมอักเสบ
ของระบประสาทส่วนปลาย
อาการและอาการเเสดง
Sensation
เริ่มมีอาการเหน็บชา
ปวดโดยเฉพาะปลายเเขนขา
อาจเริ่มด้วยตะคริว
ถ้ารุนเเรงต้องให้ยาเเก้ปวด
อ่อนเเรง ชา สูญเสียรีเฟลกซ์
Moter
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
อัมพาต เริ่มที่ต้นขาเเล้ว
ลุกลามไปเเขน ลำตัว
เมื่อลุกลามไปที่กล้ามเนื้อที่ช่วย
ในการหายใจทําให้หายใจล้มเหลว
อาการของประสาทสมอง
พบความผิดปกติของ
ประสาทสมองคู่ที่ 7 มากที่สุด
มีอัมพาตที่หน้า 👄 👁ปิดไม่สนิท
อาการลุกลามของ
ประสาทอัตโนมัติ
ส่วนMedullaที่ควบคุมอวัยวะสําคัญ
และเส้นประสาท vagus
เกิดความผิดปกติ
ความดันไม่คงที่
❤️เต้นเร็วหรือเต้นช้า
ปัสสาวะคั่ง ท้องอืด
หน้าเเดง เหงื่อออก
การรักษา
เปลี่ยนถ่าย Plasma
รักษาด้วย Intarvenous
Immunglobulin
สะดวก ง่าย มีความเสี่ยงน้อย
แต่กลับเป็นซ้ำง่ายกว่า
รักษาเนิ่นๆ 2-4wk หลังมีอาการครั้งแรก ช่วยชีวิตได้เร็ว
หลักการพยาบาลในระยะ
เฉียบพลันและต่อเนื่อง
check v/s โดยเฉพาะ RR
ให้ออกซิเจน ถ้ามีภาวะหายใจไม่พอ
ต้องใส่ท่อพร้อมเครื่องช่วยหายใจ
ประเมินการเคลื่อนไหวกําลังกล้ามเนื้อ
การรับรู้ ช่วยฟื้นฟูอาการแทรกซ้อน
ดูเเลปัญหาการขาดสารอาหาร
เพราะผู้ป่วยจะมีน้ำหนักลดอย่างรวดเร็ว
สังเกตอาการปวดกล้ามเนื้อ
ส่งเสริมการมองโลกในแง่ดี
Spina Bifida เกิดจากผิดปกติ
ของท่อระบบประสาทที่เจริญไม่สมบูรณ์
เเบ่งได้เป็น 3 ชนิด
Spina Bifida Occulta
มีรอยบุ๋ม ปานเเดง มีก้อนไขมัน
Spina Bifida Meningocele
มีถุงน้ำออกมา ใสและนิ่ม
Spina Bifida Myelomeningocele
มีถุงน้ำออกมาพร้อมเส้นประสาท
เท้าปรุ เท้าเเปร
สาเหตุ
สาเหตุที่เเท้จริงยังไม่ทราบ
อาจเกิดจากตอนตั้งครรภ์มารดาติดเชื้อ
การรักษา
การผ่าตัดเย็บปิดถุงที่ยื่นออกมา
การพยาบาล
อาจมีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
เนื่องจากมีการคั่งของของน้ำปัสสาวะ
ทําCrede's manuever ทุก 2-4 hr.
ทําความสะอาดทุกครั้งหลังขับถ่าย
ให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา
อาจเกิดการติดเชื้อ เนื่องจากถุงน้ำแตก
จัดท่านอนตะเเคงหรือนอนคว่ำ
ไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลให้ถุงน้ำได้รับความชุ่มชื้นและระวังไม่ให้เกิดแผล
หมั่นตรวจสอบการฉีกขาดหรือรั่ว
ประเมินการติดเชื้อ
มีกล้ามเนื้อแขนขาอ่อนแรงจากการ
กดเบียดเส้นประสาทไขสันหลัง
ทํา Passive exercise ให้ผู้ป่วย
สอนผู้ปกครองในการกระตุ้นการเคลื่อนไหวของผู้ป่วย
สังเกตการอ่อนแรงของแขนขา และการควบคุมการขับถ่าย
การพยาบาลหลังผ่าตัด
มีโอกาสติดเชื้อบริเวณแผลหลังผ่าตัดได้ง่าย
จากการปนเปื้อนอุจาระปัสสาวะ
จัดท่านอนตะแคงหรือคว่ำและต้องไม่นุ่งผ้าอ้อม
ดูแลทําความสะอาดแผลให้สะอาด
ดูแลให้ยา Antibiotic ตามแผนการรักษา และประเมินสัญญาณชีพ/
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด
ประเมินv/sทุก 2-4 hr.
วัดรอบศีรษะทุกวันเพื่อประเมินภาวะ Hydrocephalus
เฝ้าสังเกตแผลติดเชื้อ และHydrocephalus
บริหารแขนขาบ่อยๆและเปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ