Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด, -ผู้บริโภคเเต่ละรายไม่ได้กำหนดปริมาณการบ…
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด
อุปสงค์(DEMAND)
กฎของอุปสงค์(Law of Demand)
1.อุปสงค์ต่อราคา( Price demand)
คือ ปริมาณเสนอซื้อ สินค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง ณ ระดับราคาต่าง ๆ กับขอสินค้า ในช่วงเวลามดเวลาหนึ่ง โดยกำหนดปัจจัยอื่นนคงที่
ถ้าราคาสินค้าลดลง ปริมาณการซื้อสินค้าจะเพิ่มขึ้น
ราคาสินค้าสูงขึ้น ปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
ปริมาณสินค้าหรือบริการ ที่ผู้บริโภคต้องการซื้อย่อมผันแปรผกผันกับระดับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ
2.อุปสงค์ต่อรายได้(Income demand)
คือ ปริมาณเสนอซื้อ ของผู้บริโภค ที่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับรายได้ของผูั้้บริโภค
สินค้าปกติ
สินค้าด้อย
3.อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น(Cross Demand)
คือ ความต้องการซื้อสินค้า และบริการของผู้บริโภค ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง ณระดับราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องในด้าน
สินค้าที่ใช้เเทนกันได้(Substitute Demand)
คือ สินค้าที่เเทนกันด้วยวัตถุประสงค์เดียวกัน สามารถใช้เเทนกันได้ จะมีราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันข้าม
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้(Complrmentary goods)
สินค้าที่ต้องใช้ร่วมกับสินค้าอื่น เมื่อสินค้าเพิ่มขึ้นหรือลดลงจะมีผลทำให้ปริมมาณการเสนอซื้อสินค้าอีกชนิดหนึ่ง
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน(Independent goods)
เป็นสินค้าที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกันเลย
อุปสงค์ที่ทรงประสิทธิพล (Effective Demand)
ความเต็มใจหรือยินดีที่จะซื้อ
หรือมีอำนาจซื้อ
ความสามารถที่จะจ่ายได้
อุปสงค์ส่วนบุคคล คือ ปริมาณสินค้าชนิดใทดชนิดหนึ่ง ของผู้บริโภคเเต่ละคน ณ ระดับราคาต่าง ๆ ของสินค้านั้น
อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใด ๆ คือ ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผู้ซื้อทุกคนในตลาดเต็มใจที่จะซื้อ ณ ระดับราคาสินค้านั้นๆ
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปสงค์และการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
-การเปลี่ยนแปลงในปริมาณของอุปสงค์
เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมาจากสาเหตุการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า
-การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปสงค์
เป็นการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยที่กำหนดอุปสงค์อื่นๆ ที่ไม่ใช่ราคา
ปัจจัยกำหนอุปสงค์
ราคาของสินค้า
ระดับรายได้ของผู้บิโภค
รสนิยมของผู้บริฺโภค
ราคาสินค้าอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ขนาดของประชาการ
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
อุปทาน(Supply)
อุปทานของหน่วยผลิต(Individual Supply)
อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบรืการผู้ผลิตทุกรายในตลาดต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลา หนึง ณ ระดับต่างๆ ของราคาสินค้าหรือบริการ เช่น อุปทานเนื้อไก่ในประเทศ
อุปทาตลาด(Market Supply)
อุปทานของจำนวนสินค้าหรือบรืการผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลา หนึ่ง ณ ระดับต่างๆ ของราคาสินค้าหรือบริการ เช่น อุปทานเนื้อไก่ของบริษัทA
กฎของอุปทาน(Law of Supply)
ปริมาณสินค้าหรือบริการ ที่ผู้ผลิตต้องการขายเเปรผันตามระดับราคาของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นเสมอ
ถ้าราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณการซื้อสินค้าจะสูงขึ้น
ถ้าราคาสินค้าลดลงปริมาณการซื้อสินค้าจะลดลง
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทานและการเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณอุปทาน
เป็นการเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทางเดียวกัน
การเปลี่ยนแปลงในระดับอุปทาน
เป็นการเปลี่ยนแปลงของปริมาณสินค้าที่ผู้ผลิตเต็มใจเสนอขายเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยอื่นๆ
ปัจจัยกำหนดอุปทานตลาด
ราคารของสินค้าอื่นที่สามารถผลิตได้
ราคาของปัจจัยการผลิต(ต้นทุน)
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
สภาพดินฟ้าอากาศ
นโยบายรัฐบาล
ดุลยภาพของตลาด(Market Equilibrium)
การกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าเเต่ละชนิดในตลาด
อุปทาส่วนเกิน(Excess supply)
ปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อ
อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess demand
ปริมาณเสนอซื้อสินค้ามากกว่าปริมาณเสนอขาย
กลไกลราคา ราคาจะปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเสนอซื้อและเสนอขายสินค้า
เมื่อเกิดอุปทานส่วนเกิน ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง เมื่อเกิดอุปสงค์ส่วนเกินเกิดขึ้น ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปสงค์ อุปทานกับงานสาธารณสุข
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
อุปงค์ต่อสุขภาพ (Demand for health)
ความต้องการที่ผู้บริโภคเเสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์เเข็งเเรงทั้งร่างกายและจิตใจ
อุปงค์ต่อการรักษาพยาบาล(Demand for health care)
ระดับการรักษาพยาบาลที่ผู้บริโภคจะรับบริการ ณ ระดับราคาต่างๆ กัน
ปัจจัยกำหนดพฤติกรรมของผู้บิโภคในการซื้อบริการสุขภาพ
ความรุนเเรงของโรค(S)
ราคาค่าบริการ(P)
ระดับรายได้(Y)
ฤดูกาล(SS)
ปัจจัยด้านอายุ(A)
เพศ(GD)
พันธุกรรม(GE)
พื้นฐานการศึกษา(EDU)
อุปทานกับงานสาธารณสุข
เป็นบริการที่ผู้ผลิตยินดีที่จะเสนอให้กับผู้บริโภค ณ ระดับราคาต่าง ๆ กันไป
ลักษณะพิเศษของการบริการสุขภาพ
บริการสุขภาพจับต้องไม่ได้(Intangibility)
การผลิตและการบริโภคเกิดขึ้นพร้อมกัน(Inseparability)
บริการสุขภาพไม่สามารถทำสำรองหรือเก็บล่วงหน้าได้(Inventory)
อุปทานในบริการทางการเเพทย์
หมายถึงจำนวนชั่วโมงที่ให้บริการเมื่อเทียบกับค่าตอบเเทนที่บุคคลากีเหล่านี้พึงได้รับจากการให้บริการนั้น
อุปทานในด้านบริการสาธารณสุข
บริการในโรงพยาบาล (จำนวนเตียง ชั่วโมงการให้บริการ ) ยารักษาโรค
ตลาดและตลาดสุขภาพ
ตลาดประกันสุขภาพ
ตลาดการรักษาทางการเเพทย์
ตลาดการให้บริการของโรงพยาบาล
ตลาดเเรงงานทางการเเพทย์
สถานที่ที่ผู้ซื้อเเละผู้ขายสามารถเเลกเปลี่ยนซื้อขายกันได้ ไม่ว่าจะมีสถานที่ทำการซื้อขายหรือไม่ก็ตาม
-ผู้บริโภคเเต่ละรายไม่ได้กำหนดปริมาณการบริโภคสินค้า
-ไม่ขึ้นอยู่กับเหตุผลเศรษฐกิจเสมอไป
อำนาจการซื้อ
ความต้องการ
อุปทานตลาด เป็นผลรวมของอุปทานหน่วยผลิตทุกรายการในตลาด(ยกเว้นเส้นเเนวนอน)
ปริมาณสินค้า(Q)และบริการที่ผู้ผลิตยินดีเสนอขาย ณ ระดับราคา (P) ต่างๆ กัน
-ผู้บริโภคไม่ได้ซื้อ สุขภาพเหมือนกับซมื้อสินค้าในตลาด
-เนื่องจากสุขภาพเป็นเรื่องที่มีระยะเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
อุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ DH = f(S,P,Y,SS,A,GD,GE,EDU)