Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 ยาต้านจุลชีพ ยาระงับปวด ลดไข้ต้านการอักเสบ, นางสาวรัตนาพร ลพเมฆ…
บทที่ 10
ยาต้านจุลชีพ ยาระงับปวด ลดไข้ต้านการอักเสบ
ยาต้านจุลชีพ
(การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล)
การอักเสบ
การอักเสบแบบติดเชื้อ
ติดเชื้อแบคทีเรีย
ยาปฏิชีวนะ
ไม่มีอาการไอ ไม่มีน้ำมูก
ติดเชื้อไวรัส
ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ
ไอและมีน้ำมูก
การอักเสบแบบไม่ติดเชื้อ
ใช้ยาต้านการอักเสบ
ยาสเตียรอยด์ (Steriods)
ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ
ยาแก้อักเสบที่ไม่ใช่
สเตียรอยด์ (NSAIDs)
ไม่ใช้ยาปฏิชีวนะ
อันตรายจากการใช้ยา
ปฎิชีวนะไม่สมเหตุผล
แบคทีเรียในลำไส้ตาย ทำให้ภูมิคุ้มกันลดลงทำให้แบคทีเรียบางตัวโตขึ้น
อาการ ปวดท้อง ท้องเสีย ถ่ายเหลวเรื้อรัง
การใช้ยาปฏิชีวนะพร่ำเพรื่อ = การทำร้ายครอบครัวและคนรอบข้าง
เชื้อดื้อยาแบ่งตัว และถ่ายทอดได้ ผ่านทางการไอ จาม การกิน และการสัมผัส
หวัดไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ
ท้องร่วงเฉียบพลัน
ให้ยาฆ่าเชื้อ เมื่อ ไข้สูง > 38 C อุจจาระเป็นมูกหรือมีเลือดปน
ยาฆ่าเชื้อที่ควรพิจารณาเลือกใช้คือ Norfloxacin
แผลเลือดออก
บาดแผลที่ไม่ต้องให้ antibiotic
ขอบเรียบ ล้างทำความสะอาดได้ง่าย ไม่มีเนื้อตายไม่มีสิ่งสกปรกติดไม่ใช่บาดแผลที่มีสิ่งปนเปื้อน
บาดแผลที่ต้องให้
antibiotic เพื่อป้องกัน
มีสิ่งปนเปื้อน ขอบหยึกหยัก บาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน
Antimicrobials
ยาปฏิชีวนะ
(Antibiotics) ออกฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตหรือทำลายเชื้อจุลชีพอีกกลุ่มหนึ่ง
ยาต้านจุลชีพ
(Antimicrobials) มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตทำลายเชื้อจุลชีพ ดังนั้นยาต้านจุลชีพจึงมีความหมายรวมถึงยาปฏิชีวนะ
การเลือกใช้ยาต้านจุลชีพให้ถูกต้อง
ต้องอาศัยผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ผู้ป่วยอาการดี ลดการดื้อยา
selective pressure เชื้อไวต่อยาที่ได้รับถูกฆ่าตาย เชื้อดื้อยาเพิ่มขึ้น
ขั้นตอนการใช้ยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล
วันที่1 Empirical IV therapy
ครอบคลุมเชื้อที่คาดว่าเป็นสาเหตุ
ต้องอาศัยข้อมูลระบาดวิทยา
วันที่4 De-escalation therapy
ปรับใช้ครอบคลุมแคบลง
IT to PO therapy มีอาการดีขึ้น
ยาต้านแบคทีเรีย (Antibactirial Drugs)
Beta-lactam Antibiotics
ยับยั้งการสร้างผนังเซลล์ขั้นสุดท้ายของแบคทีเรีย
Penicillins
Cloxacillin
Dicloxacillin
Amoxicillin
Time-dependent
ยาจะออกฤทธิ์ดีเมื่อให้ถี่ๆ
pharmacodynamic parameter
Cephalosporins
การครอบคลุมเชื้อ
รุ่นที่ 1 ออกฤทธิ์ต่อแกรมบวกส่วนใหญ่ได้ดีมากรุ่นที่ 2 เชื้อแกรมลบไวต่อยารุ่นนี้มากขึ้น
รุ่นที่ 3 เชื้อแกรมบวกรูปกลมไวต่อรุ่น 3 น้อยกว่ารุ่น1 รุ่นที่ 4 ไวต่อแกรมบวกและแกรมลบมากขึ้น
รุ่นที่ 5 (ceftobiprole, ceftaroline)
Carbapenems
ออกฤทธิ์ครอบคลุมกว้างเกือบทั้งหมดของเชื้อแกรมบวก (ยกเว้น MRSA) แกรมลบ และ anarobe
Monobactams
อาการชักลดลงมักเลือก
ใช้ยานี้แทน imepenem
หลีกเลี่ยงการใช้ยานี้ร่วมกับ valproic acid
Macrolides
Clarithromycin
Azithromycin
ยับยั้งวัณโรคได้
Fluoroquinolone
1st generation นิยมใช้ที่ปอด
2nd generation ยาลงท้ายด้วย -xacin
3rd generation ฆ่าเชื้อดื้อยาได้ด้วย
quinolone : เติม fluorine (F)
เพิ่มฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย
รวมทั้ง Ps. aeruginosa
narfloxacinไม่ควรใช้ในสตรีมีครรภ์ ให้นมบุตรและผู้ป่วยเด็ก มีผลต่อกระดูกอ่อนและกระดูกที่กำลังเจริญเติบโต
Aminoglycosides
มีผลต่อเชื้อแบคทีเรียแกรมลบเป็นส่วนใหญ่ทำลายเชื้อจุลินทรีย์โดยขึ้นกับความเข้มข้น
postantibiotic effect (PAE) หยุดยาแล้วยังฆ่าเชื้อได้ แต่ dose ต้องมากพอ
อาการไม่พึงประสงค์
เป็นพิษต่อไตและหู ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Vancomycin
มีฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อแบคทีเรียแกรมบวกทั้งหมด
ผลข้างเคียงจากการบริหารยาเร็ว
“Red Man Syndrome”
Teicoplanin
ฤทธิ์ครอบคลุมเหมือน vancomycin โดยที่เชื้อ Enterococci จะไวกว่าเล็กน้อย
Sulfonamides
sulfonamide ไปผสมกับ
trimethoprimออกฤทธิ์เป็น
bacteriocidal เช่น co-trimoxazole
ระวังการแพ้ยาแบบ Steven Jonhson Syndrome
Chloramphenical
ขี้ผึ้ง ใช้ในเด็กแรกเกิด
ที่กลัวการติดเชื้อจากแม่
ยาฉีด ห้ามใช้ในเด็กแรกเกิด จะทำให้เกิดอาการ Gray baby syndrome
Tetracycline
ทำให้คลื่นไส้อาเจียน ห้ามใช้ใน
หญิงตั้งครรภ์ ไม่ควรทานพร้อมนม
ยาลดกรด ยาบำรุงโลหิต
ยาต้านวัณโรค
การรักษาสูตรยามาตรฐาน
ระบบ 6 เดือน (1st choice)
2HRZE(S)/4HR หรือ 2HRZE(S)/4HR
Isoniacid (INH) Bacteriocidal
อาการไม่พึงประสงค์ : ตับอักเสบ
Rifampicin bacteriocidal
อาการไม่พึงประสงค์ : ปัสสาวะสีส้มแดง
Streptomycin Bacteriocidal
พิษต่อหู อาจทำให้หูหนวกได้
Ethambutol Bacteriostatic
ควรตรวจวัดสายตาช่วงที่ใช้ยานี้
Pyrazinamide Bacteriocidal ผื่นตามตัว ปวดข้อ
ยาต้านไวรัส
แบ่งเป็น 4 กลุ่ม
Nucleoside analogs
1.1 purine nucleoside analogs : vidarabine, acyclovir, valaciclovir, ganciclovir
1.2 pyrimidine nucleoside analogs : ribavirin
Cyclic amines : amantadine, rimantadine
Other chemicals : phosphonoformic acid
Interferons
ยารักษาโรคปรสิต
ยาขับพยาธิตัวกลม (Nematodes)
กลุ่ม Benzimidazoles : MebendazoleAlbendazole
Pyrantel pamoate Thiabendazole
ยาขับพยาธิตัวแบน (Cestodes) : Niclosamide
ยาขับพยาธิใบไม้ (Trematodes) : Praziquantel
ยารักษาโรคบิด (Amebiasis)ยาที่ใช้รักษาโรคบิดในลำไส้และในตับได้ผลดี ต้องมีผลฆ่า trophozoiteยาที่ใช้รักษาโรคบิดชนิดไม่แสดงอาการ ต้องมีผลฆ่าเชื้อบิดที่อยู่ใน cyst
ยารักษาโรคมาราเรีย
Tissue schizonticide
primaquineป้องกันไม่ให้มีการติดต่อแพร่กระจายของเชื้อจากผู้ป่วยที่เป็นโรคนี้ไปยังคนอื่นๆผ่านทางยุงได้
Blood schizontocide
ได้แก่ chloroquine, quinineต้องดูก่อนว่าเชื้อมาลาเรียนั้นดื้อต่อยาอะไรแล้วบ้าง
ยาต้านเชื้อรา
เชื้อราที่ทำให้เกิดการติดเชื้อที่ผิวหนังและใต้ผิวหนัง
เชื้อราที่มักทำให้เกิดการติดเชื้อในร่างกายผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ยาต้านเชื้อรา (antifungals) แบ่งเป็น
Systemic antifungal agents แบ่งได้ 5 กลุ่ม. Polyenes : amphotericin B2. Azoles : ketoconazole, itraconazole, Allylamines : terbinafine4. Others : flucytosine , griseofulvin
Topical Antifungals
Polyenes : nystatin, natamycin
Azoles : econazole, ketoconazole, miconazole, clotrimazole เป็นต้น
Allylamines : naftifine และ terbinafine
Thiocarbamates : tolnaftate
Morpholine : amorolfine
Hydroxypyridenes : ciclopirox
นางสาวรัตนาพร ลพเมฆ รหัส 63108301091