Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด, อุปสงค์ต้องมีทั้งความต้องการและอำนาจในกา…
อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพการตลาด
อุปสงค์
ความต้องการ(want)
อำนาจในการซื้อ(Purchasing power)
อุปสงค์ที่ทรงประสิทธิภาพ อุปสงค์หรือความต้องการซื้อมีผลที่แท้จริงเรียกว่าอุปสงค์ทรงประสิทธิภาพ
ความเต็มใจหรือยินดีซื้อ(Willingness to pay)
ความสามารถที่จะจ่ายได้(Ability to pay)
มีอำนาจในการซื้อ(Purchasing Power)
กฎของอุปสงค์ ปริมาณสินค้าหรือบริการย่อมแปรผกผันกับระดับราคาของสินค้าเสมอ
อุปสงค์ต่อราคา ปริมาณเสนอซื้อสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งณระดับราคาต่างๆกัน
ราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณการซื้อสินค้าลดลง
ราคาสินค้าลดลงปริมาณการซื้อสินค้าเพิ่มขึ้น
อุปสงค์ส่วนบุคคล ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของแต่ละคน
อุปสงค์ตลาดสำหรับสินค้าใด ปริมาณสินค้าชนิดใดชนิดหนึ่งของทุกคนในตลาด
อุปสงค์ต่อรายได้ ปริมาณเสนอฃื้อของผู้ปริโภคเปลี่ยนแปลงตามรายได้
สินค้าปกติ(normal goods)
สินค้าที่ต้องการเพิ่มขึ้น หากมีรายได้เพิ่มขึ้น
สินค้าด้อย(Inferior goods)
สิค้าที่ต้องการเพิ่มขึ้น หากมีรายได้ลดลง
อุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่นความต้องการซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภคณระดับราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องในด้าน
สินค้าที่ใช้ทดแทนกันได้(Substitute goods)
มีวัตุประสงค์เดียวกันสามารถใช้แทนกันได้
สินค้าที่ใช้ประกอบกันได้(Complementary goods)
สินค้าที่ต้องใช้ร่วมกับสินค้าอื่น
สินค้าที่เป็นอิสระต่อกัน(Independent goods)
ให้ประโยชน์คนละด้านไม่สามารถใช้แทนกันได้
กฎของอุปสงค์เกิดจากผลทางราคา
ผลทางรายได้
ผลทางการตอบแทน
ปัจจัยกำหนดอุปสงค์
ราคาของสินค้า
ระดับรายได้ของผู้บริโภค
รสนิยมของผู้บริโภค
ราคาสินค้าอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ขนาดของประชากร
การคาดคะเนราคาสินค้าในอนาคต
การเปลี่ยนแปลงในปริมาณของอุปสงค์ มาจากสาเหตุการเปลี่ยนแปลงทางราคาสินค้า สามารถขยายได้ตามความต้องการซื้อสินค้ามากกว่าเดิม
อุปทาน ผู้ผลิตเสนอขาย
อุปทานหน่วยผลิตผู้ผลิตรายใดรายหนึ่งต้องการผลิตออกขายในช่วงเวลา หนึ่ง ณ ระดับต่างๆ ของราคาสินค้า
อุปทานตลาดผู้ผลิตทุกรายในตลาดต้องการ
ผลิตออกขายในช่วงเวลา หนึ่ง ณ ระดับต่างๆ ของราคาสินค้า
กฎของอุทาน ปริมาณสินค้าหรือบริการที่ผู้ผลิตต้องการขายตามระดับของราคาสินค้า
ราคาสินค้าสูงขึ้นปริมาณการซื้อสินค้าสูงขึ้น
ราคาสินค้าลดลงปริมาณการซื้อสินค้าลดลง
การเปลี่ยนแปลงอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าจะทำให้ปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงในทิศทาง
เดี่ยวกัน
ปัจจัยกำหนดอุปาน
ราคาของสินค้าอื่นที่อาจผลิตได้
ราคาของปัจจัยการผลิต (ต้นทุน)
เทคโนโลยีการผลิต
จำนวนผู้ผลิต
สภาพดินฟ้าอากาศ
นโยบายรัฐบาล
ดุลยภาพของตลาดการกำหนดราคาและปริมาณของสินค้าแต่ละชนิดในตลาด
กลไกราคา ปรับตัวเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างการเสนอซื้อและการเสนอขาย
อุปทานส่วนเกินปริมาณเสนอขายมากกว่าปริมาณเสนอซื้อสินค้า
ราคาสินค้าจะปรับตัวลดลง
อุปสงค์ส่วนเกินปริมาณเสนอซื้อสินค้ามากกว่าปริมาณเสนอขาย
ราคาสินค้าจะปรับตัวสูงขึ้น
อุปสงค์กับงานสาธารณสุข
ความจำเป็นโดยอาศัยหลักอุปสงค์
Normative need จำเป็นหรือควรมีประเมินโดยเเพทย์
Felt need จำเป็นที่ตระหนักผู้บริโภครู้สึกว่าควรมี
Comparative need จำเป็นเปรียบเทียบ ควรได้รับบริการที่เหมือนกัน
อุปสงค์ต่อสุขภาพความต้องการหรือความจำเป็นที่
ผู้บริโภคแสดงออกเพื่อให้มีสุขภาพสมบูรณ์
อุปสงค์ต่อการรักษาพยาบาล
ไม่ขึ้นอยู่กับเหตุผลทางเศรษฐกิจเสมอไป
ผู้บริโภคแต่ละรายไม่ได้กำหนดปริมาณการบริโภคสินค้า
ผู้บริโภคไม่ได้ซื้อสุขภาพเหมือนกับซื้อสินค้าในตลาด
เนื่องจากสุขภาพเป็นเรื่องที่มีระยะเวลาเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย
อุปทานในการบริการทางการแพทย์
อุปทานในด้านการบริการสาธารณสุข
อุปสงค์ต้องมีทั้งความต้องการและอำนาจในการซื้อ
ถ้ามีความต้องการแต่ไม่มีอำนาจในการซื้อ เรียกว่า อุปสงค์ไม่แท้
นางสาวสิริญญา ทิมเชียงราก เลขที่ 70 รหัส 63123301148