Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร - Coggle Diagram
ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร
5.การคัดเลือกเนื้อหาวิชา
1.ความหมาย ของเนื้อหาวิชา
เนื้อหา ข้อมูล ทฤษฎีที่สำคัญที่คัดสรรมาให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้
2.ประเภทของเนื้อหาวิชา
ด้านเจตคติ
ด้านทักษะ
ด้านความรู้และสติปัญญา
3.หลักเกณฑ์ ในการเลือก เนื้อหาวิชา
1) มีความจำเป็นและเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
2) อำนวยประโยชน์ทั้งต่อผู้เรียนสังคมและประเทศชาติทั้งในปัจจุบันและอนาคต
3) มีความสอดคล้องกับจุดหมายของหลักสูตร
4) มีความครอบคลุมความรู้หลาย ๆ ด้านและสนองจุดประสงค์ได้หลายทาง
5) มีความถูกต้องเชื่อถือได้
6) มีความทันสมัย น่าสนใจ
7) มีระดับความยากง่ายสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
4.วิธีการเลือกเนื้อหาวิชา
4.1 วิธีใช้ความคิดเห็นตัดสิน
4.2 วิธีใช้การทดลอง
4.4 วิธีใช้ความคิดเห็นส่วนรวม
4.3 วิธีใช้การวิเคราะห์
3) การวิเคราะห์ความรู้และทักษะที่เป็นประโยชน์ ทั่วไป
1) การวิเคราะห์กิจกรรม
2) การวิเคราะห์งาน
5.การจัดเนื้อหาวิชา
ลำดับจากเนื้อหาที่ง่ายไปสู่เนื้อหาที่ยาก
ความจำเป็นที่ต้องเรียนก่อนหลัง
ลำดับของกาลเวลา
ส่วนรวมไปสู่ส่วนย่อย
ส่วนย่อยไปสู่ส่วนรวม
หัวข้อหรือเรื่อง
สิ่งที่อยู่ใกล้ตัวไปสู่สิ่งไกลตัวผู้เรียน
ยึดสาระความรู้ของแต่ละศาสตร์เป็นหลัก
จิตวิทยาเป็นหลัก
คำนึงความสัมพันธ์ต่อเนื่องของหลักสูตร
6. การกำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
1. ความสำคัญของจุดประสงค์การเรียนรู้
ช่วยให้สะดวกในการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน
ช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบขอบข่ายในบทเรียนนั้น ๆ
ช่วยให้เกิดความชัดเจนในการประเมิน
ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจในจุดประสงค์ของวิชา
2. หลักในการจัดทำจุดประสงค์การเรียนรู้
ข้อความที่แสดงพฤติกรรมของผู้เรียน
สถานการณ์ที่ผู้เรียนจะต้องกระทำ
เกณฑ์ในการวัดหรือประเมินระดับการกระทำ
7. การกำหนดประสบการณ์การเรียนรู้
1.ความหมายของประสบการณ์การเรียนรู้
ปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างผู้เรียน และ เงื่อนไขภายนอก ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ได้สัมผัส
2.ประเภทของประสบการณ์การเรียนรู้
2.1 ประสบการณ์เรียนรู้
ประสบการณ์รอง
ประสบการณ์ตรง
2.2 ประสบการณ์การเรียนรู้ที่แบ่งโดยยึดถือจุดประสงค์การเรียนรู้
1 ประสบการณ์การเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะในการคิด
2 ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ก่อให้เกิดข้อเท็จจริง
3 ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ช่วยในการพัฒนาทัศนคติทางสังคม
4 ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ช่วยในการพัฒนาความสนใจ
3. ลักษณะของประสบการณ์การเรียนรู้ที่ดี
สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนการสอน
สนองความต้องการของผู้เรียน
มีความหมายต่อผู้เรียน
เหมาะสมกับวุฒิภาวะของผู้เรียน
สัมพันธ์กับวิถีชีวิตของผู้เรียน
ส่งเสริมนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียนให้แก่ผู้เรียน
ส่งเสริมทำให้เกิดการเรียนรู้ได้เร็ว
มีความหลากหลายและทันสมัย
เป็นประสบการณ์ที่มีพื้นฐานอยู่บนประสบการณ์เดิมของผู้เรียน
สามารถจัดให้ผู้เรียนได้
4. หลักในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
จัดลำดับขั้นตอนของการจัดประสบการณ์
การบูรณาการประสบการณ์การเรียนรู้
มีความต่อเนื่องของประสบการณ์การเรียนรู้
ส่งเสริมพัฒนาการเดิม
มีการวางแผนในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้